การออกแบบสื่อศิลปะบำบัด

Media Art Therapy Design

1.        เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจแนวคิดพื้นฐานของสื่อศิลปะบำบัด
2.        เพื่อให้นักศึกษาสามารถออกแบบกิจกรรมหรือสื่อที่มีคุณค่าทางจิตใจ
3.        เพื่อให้นักศึกษานำทักษะด้านศิลปะและสื่อมาประยุกต์ใช้ในบริบทการเยียวยา
4.        เพื่อสร้างความตระหนักรู้ในตนเองและผู้อื่นผ่านการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม
1. เพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการในการเรียนของนักศึกษาในแต่ละยุคสมัย
2. เพื่อให้นักศึกษาได้เข้าใจแนวคิดและกระบวนการออกแบบเพื่อฝึกประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน
ศึกษาแนวคิด ทฤษฎี และกระบวนการของการออกแบบ ทดลองและสร้างสื่อบำบัดผ่านกิจกรรมเชิงสร้างสรรค์ เพื่อการบำบัดเยียวยาทางอารมณ์ จิตใจและพฤติกรรม ผ่านกระบวนการเรียนรู้ด้านการออกแบบเชิงสร้างสรรค์ โดยฝึกปฎิบัติการสร้างสื่อที่เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมายในบริบทต่างๆ
1 ชั่วโมง/สัปดาห์
หลัก - 1.1 ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบ ต่อตนเองและสังคม
1.2 มีทัศนคติที่เปิดกว้างยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น
รอง- 1.3. มีจิตอาสา จิตสํานึกสาธารณะ
สอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรมในการสอน รวมทั้งมีการจัดกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม  สอนความรู้ จรรยาบรรณทางด้านวิชาการและวิชาชีพในรายวิชาสอน ให้มีระเบียบวินัย ฝึกให้รู้หน้าที่ในการทำงาน มีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
ประเมินจากการตรวจสอบแผนการสอนในเรื่องของคุณธรรม จริยธรรม ในทุกวิชา ประเมินจากผลการดำเนินงานตามแผนการสอน และประเมินจากการสังเกตพฤติกรรม
หลัก - 2.3 มีความรู้ในทางศิลปะที่สัมพันธ์กับบริบททางสังคม ภูมิปัญญา และวัฒนธรรม
รอง - 2.2 มีความสามารถในการค้นคว้าแก้ปัญหา และพัฒนาทางด้านศิลปกรรมศาสตร์อย่างเป็นระบบ
ใช้การเรียนการสอนหลากหลายรูปแบบ โดยเน้นหลักการทางทฤษฎี และการประยุกต์ใช้ในการปฎิบัติงาน โดยทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี ทั้งนี้ให้เป็นไปตามลักษณะของรายวิชาตลอดจนเนื้อหาสาระของรายวิชานั้นๆ นอกจากนี้อาจจัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริงโดยการศึกษาดูงาน หรือเชิญผู้เชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์ตรงมาเป็นวิทยากรพิเศษเฉพาะเรื่อง ตลอดจนการฝึกประสบการณ์หรือฝึกปฏิบัติงานในสถานประกอบการ
ประเมินจากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และผลการปฏิบัติงานของนักศึกษา ในด้านต่างๆ คือ
          1) การทดสอบย่อย
         2)   การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
          3)   ประเมินจากรายงานที่นักศึกษาจัดทำ
          4)   ประเมินจากการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
หลัก - 3.2 สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์ และเสนอแนวทางแก้ปัญหา ได้อย่างสร้างสรรค์
รอง - 3.4. มีความคิดสร้างสรรค์ และมีปฏิภาณไหวพริบในการสร้างผลงาน
ใช้กรณีศึกษา การจัดทำโครงงาน การมอบหมายงานให้นักศึกษาสืบค้นข้อมูลวิเคราะห์ สังเคราะห์ และสรุปข้อมูล การนำเสนองาน โดยอภิปรายเดี่ยวหรือกลุ่ม ร่วมแสดงความคิดเห็น
ประเมินตามสภาพจริงจากผลงาน การปฏิบัติงานของนักศึกษา และการนำเสนองาน
หลัก - 4.2 มีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง และสามารถทํางานร่วมกับผู้อื่นอย่างมีประสิทธิภาพ
รอง - 4.3 สามารถแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล ตรงไปตรงมา และเคารพในความคิดเห็นที่แตกต่าง
สอดแทรกเรื่องความสำคัญของการมีมนุษยสัมพันธ์ การมีมารยาททางสังคม  มอบหมายงานหรือจัดกิจกรรมโดยหมุนเวียนกันทำหน้าที่ผู้นำ และผู้ตาม การเคารพสิทธิ ยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น การประสานงานกับบุคคลภายนอก การแสดงความคิดเห็น และการวิพากษ์วิจารณ์งานของผู้อื่น
ประเมินจากพฤติกรรม การแสดงออกในการนำเสนองาน ผลงานกลุ่มในชั้นเรียน และประเมินจากพฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่างๆ
หลัก- 5.1 สามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียน ในการสื่อสารโดยทั่วไป ตลอดจนใช้วิธีการ สื่อสารทางศิลปกรรม และนําเสนองานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชา ให้นักศึกษาได้วิเคราะห์สถานการณ์จำลอง และสถานการณ์เสมือนจริง แล้วนำเสนอการแก้ปัญหาที่เหมาะสม เรียนรู้เทคนิคการประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศ ให้นักศึกษาค้นคว้างานที่ต้องอาศัยการประมวลผล โดยการใช้ตัวเลข เพื่อการจัดการข้อมูล และการนำเสนอที่เหมาะสมกับสภาพของผู้สื่อสาร
ประเมินจากความถูกต้องในการใช้ข้อมูล และตัวเลข การเลือกใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม ประเมินจากการอธิบาย และการนำเสนอ
หลัก - 6 สามารถใช้ทักษะปฏิบัติทางศิลปกรรมศาสตร์ ในการสร้างสรรค์ผลงานตน
มอบหมายโครงงานให้นักศึกษาได้ค้นคว้าข้อมูล สำรวจประเด็นปัญหาและออกแบบสื่อเพื่อหาแนวทางแก้ไข รวมถึงได้มีการประเมินผลงานจากกลุ่มเป้าหมาย
ประเมินจากผลงานสื่อ,กระบวนการออกแบบสื่อที่เป็นไปตามขั้นตอนการออกแบบอย่างมีประสิทธิภาพ และประเมินจากผลตอบรับของกลุ่มเป้าหมาย และการจัดทำรูปเล่มรายงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบ ต่อตนเองและสังคม 1.2 มีทัศนคติที่เปิดกว้างยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น 1.3 มีจิตอาสา จิตสํานึกสาธารณะ 2.1 รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรม และศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง 2.2 มีความสามารถในการค้นคว้าแก้ปัญหา และพัฒนาทางด้านศิลปกรรมศาสตร์อย่างเป็นระบบ 2.3 มีความรู้ในทางศิลปะที่สัมพันธ์กับบริบททางสังคม ภูมิปัญญา และวัฒนธรรม 2.4 มีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานหรือธรรมเนียมปฏิบัติในการประกอบวิชาชีพด้านศิลปกรรมศาสตร์ในสาขาวิชาที่ศึกษา 3.1 สามารถค้นคว้า รวบรวม และประเมินข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายอย่างมีวิจารณญาณ 3.2 สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์ และเสนอแนวทางแก้ปัญหา ได้อย่างสร้างสรรค์ 3.3 สามารถบูรณาการความรู้กับศาสตร์อื่น เพื่อสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการ และวิชาชีพได้ 3.4 มีความคิดสร้างสรรค์ และมีปฏิภาณไหวพริบในการสร้างผลงาน 4.1 มีภาวะผู้นำเข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเอง รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น และมนุษยสัมพันธ์ที่ดี 4.2 มีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง และสามารถทํางานร่วมกับผู้อื่นอย่างมีประสิทธิภาพ 4.3 สามารถแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล ตรงไปตรงมา และเคารพในความคิดเห็นที่แตกต่าง 5.1 สามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียน ในการสื่อสารโดยทั่วไป ตลอดจนใช้วิธีการ สื่อสารทางศิลปกรรม และนําเสนองานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 5.2 สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูล เพื่อการสร้างสรรค์ผลงานหรือการนำเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 5.3 มีความสามารถในการประยุกต์ใช้ความรู้เชิงตัวเลข หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสมสำหรับงานศิลปกรรม 6.1 สามารถใช้ทักษะปฏิบัติทางศิลปกรรมศาสตร์ ในการสร้างสรรค์ผลงานตน
1 BAACD164 การออกแบบสื่อศิลปะบำบัด
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1, 1.2, 2.2, 3.4, 5.1, 6 จากการปฎฺิบัติงาน 1-8 30
2 1.1,1.2, 1.3, 2.2, 2.3, 3.2, 3.4, 4.2, 4.3, 5.1, 6 จากการลงพื้นที่, สำรวจ, เก็บข้อมูล, ปฎิบัติงานออกแบบสื่อและกิจกรรมสร้างสรรค์ 10-16 30
3 2.2, 2.3, 3.2, 5.1 สอบกลางภาค 9 15
4 2.2, 2.3, 3.2, 5.1 สอบปลายภาค 17 15
 Art & Design Research, Eakachat Joneuratana, Ph.D. Design Arts, International program Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University, 3rd Edition: 2025
Gillihan, S. J. (2020). Cognitive Behavioral Therapy Made Simple. Bangkok: Nanmeebooks.
SomdetPhraYanavachirodom. (2020). Meditation Instructor Course.
Sucaromana, A. (2016). Resilience quotient: RQ. 4(1), 209-220.
Walaa. (2021). Heal Yourself with Color. London: Welbeck Balance
Nestor, J. (2021). Breath: The new science of a lost art. UK: Penguin Random house.
Division of Mental Health Promotion and Development Department of Mental Health. (2020). Strong Together. Bangkok: Beyond Publishing.
Hof, W. (2010, December 2). TEDxAmsterdam. Ted Talks. Retrieved from https://www.youtube.com/watch?v=L9Cgaa8U4eY
Jahnke, R. (1994). Chi for Therapy. Kanchanaburi: Rungsilp.
Leslie Kaminoff, A. M. (2020). Yoga Anatomy. Bangkok, Thailand: Arrow Multimedia Co.,Ltd.
Mace, C. (2007). Mindfulness in Psychotherapy. Advances in Psychiatric Treatment, 147-153.
Muenchana, R. (2017). Systems and Theories of Buddhist Psychology. Academic MCU Journal, 2(1), 63-78.
Phiutongngam, S., & Cheewaroros, S. (2021). Buddhist Psychology: Concept Theory and Application. PAṆIDHĀNA JOURNAL, 224-252.
Tanakijudomchai, T. (2014). MEDIA DESIGN FOR STRESS MANAGEMENT USING BUDDHIST PSYCHOTHERAPY. Bangkok: Graduate School, Silpakorn University.
 
Basagoitia, R. (Producer). (2019, May  14). This Is Your Brain on Binaural Beats. Health news. Retrieved from https://www.healthline.com/health-news/your-brain-on-binaural-beats
Bhikkhu, B. (2021). Anapanasati (12nd ed.). Bangkok: Thammasapa.
BudPsymcu (Producer). (2022). Buddhist Psychology. Retrieved from https://www.youtube.com/watch?v=f2l-rVgA_XY
Burfeind, K. (Producer). (2021, SEPTEMBER 23). HEALING SOUND FREQUENCIES AND HOW TO USE THEM IN YOUR DAY. ALMEDA. Retrieved from https://almedalabs.com/blogs/almeda-life/healing-sound-frequencies-and-how-to-use-them-in-your-day
CAMERON, P. (Producer). (n.d.). COLOUR PSYCHOLOGY: LEARN THE LANGUAGE. Wallartprint. Retrieved from https://www.wallartprints.com.au/blog/colour-psychology/
Diersing, C. L. (2021). THE EFFECT OF BINAURAL TONES ON EEG WAVEFORMS AND HUMAN COMPUTATIONAL PERFORMANCE. USA: UNIVERSITY OF DAYTON.
Infinite (Producer). (2016, April 12). Wim Hof, “The Iceman”: Climbing Mount Everest In Shorts – Running A Marathon Barefooted & In Shorts In Lappland At -30°C – Staying Immersed In Ice For Over 1 Hour And 13 Minutes (Videos). Infinite Unknown. Retrieved from https://infiniteunknown.net/category/unlimited/
Explorersclub (Producer). (2023). Virtual Breath Class with 10x Guinness World Record Holder & Freediver, Stig Severinsen Plus Breatheology Advanced Online Course. CharityBuzz. Retrieved from https://www.charitybuzz.com/catalog_items/auction-virtual-breath-class-with-10x-guinness-world-2593501
Mahboob, T. (Producer). (2021, July  25). How we breathe has major impacts on our body — James Nestor has recommendations to improve it. The Sunday Magazine. Retrieved from https://www.cbc.ca/radio/sunday/the-sunday-magazine-for-january-17-2021-1.5874646/how-we-breathe-has-major-impacts-on-our-body-james-nestor-has-recommendations-to-improve-it-1.5874681
Rockwood, L. (2018). Change Your Breath, Change Your Life. Retrieved from https://www.youtube.com/watch?v=_QTJOAI0UoU
Severinsen, S. (2010). How to Hold Your Breath for 20 Minutes. Retrieved from https://www.youtube.com/watch?v=L9c7tkljd3A
 
ให้นักศึกษาประเมินเมื่อสิ้นสุดการเรียนการสอนในประเด็นต่อไปนี้
1.1 ให้นักศึกษาประเมินอาจารย์ผู้สอนในประเด็นต่อไปนี้
- ความตรงต่อเวลา
- การแต่งกาย บุคลิกภาพ
- คำพูดและวาจาสุภาพ เหมาะสม
- การเป็นแบบอย่างที่ดี สอดแทรกคุณธรรมและจริยธรรมระหว่างการสอน
- ความสามารถในการถ่ายทอดเนื้อหาให้เข้าใจและกระตุ้นการเรียนรู้
- แจ้งและสรุปวัตถุประสงค์การศึกษาหัวข้อที่สอน
- จัดการเรียนการสอนให้เกิดการเรียนรู้ตรงกับที่ระบุไว้ในวัตถุประสงค์การศึกษา
- การเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ซักถาม แสดงความคิดเห็นระหว่างการเรียนการสอน
1.2 ให้นักศึกษาประเมินภาพรวมของรายวิชาในประเด็นต่อไปนี้
- ความรู้ความสามารถโดยรวม และประโยชน์ที่ได้รับจากการเรียนรายวิชานี้
- ความพึงพอใจต่อการเรียนรายวิชานี้
- ข้อเสนอแนะอื่นๆ เช่นและการประเมินความพึงพอใจจากการเข้าร่วมโครงการประกวดต่างๆและบรรยายพิเศษ
ให้อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาหรืออาจารย์ที่ได้รับมอบหมาย ดำเนินการดังต่อไปนี้ 2.1 ให้นักศึกษาประเมินอาจารย์ผู้สอนและภาพรวมของรายวิชาตาม ข้อ 1 2.2 สุ่มสังเกตการสอนและประเมินการจัดการเรียนการสอนในประเด็นต่อไปนี้ (โดยเพื่อนอาจารย์)
- ความตรงต่อเวลา
- การแต่งกาย บุคลิกภาพ
- คำพูดและวาจาสุภาพ เหมาะสม
- การเป็นแบบอย่างที่ดี สอดแทรกคุณธรรมและจริยธรรมระหว่างการสอน
- ความรู้ความสามารถทางวิชาการในหัวข้อที่สอน
- ความสามารถในการถ่ายทอดเนื้อหาให้เข้าใจและกระตุ้นการเรียนรู้
- แจ้งและสรุปวัตถุประสงค์การศึกษาหัวข้อที่สอน
- จัดการเรียนการสอนให้เกิดการเรียนรู้ตรงกับที่ระบุไว้ในวัตถุประสงค์การศึกษา
- การเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ซักถาม แสดงความคิดเห็นระหว่างการเรียนการสอน

2.3 ให้อาจารย์ผู้สอนประเมินตนเองในประเด็นต่อไปนี้
- ความเหมาะสมของเวลาที่ใช้ในการเตรียมสอน
- ความพึงพอใจของผู้สอนต่อผลการสอน
- ข้อที่ควรปรับปรุงแก้ไขหรือพัฒนาตนเองในการสอนครั้งต่อไป
สาขาวิชาออกแบบสื่อสาร มีกลไกและวิธีการปรับปรุงการเรียนการสอนดังนี้
3.1 ให้อาจารย์ผู้สอนแต่ละหัวข้อบันทึกเหตุการณ์ระหว่างการสอนที่สมควรนำเสนอให้พิจารณารวมทั้งสิ่งที่ควรปรับปรุงแก้ไขในแต่ละ คาบการสอน
3.2 ประชุม สัมมนาอาจารย์ผู้สอนเพื่อพิจารณาปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนสำหรับปีการศึกษาต่อไปโดยอาศัยข้อมูลดังต่อไปนี้ 
- ผลการศึกษาของนักศึกษา
- ผลการประเมินประสิทธผลของรายวิชาโดยนักศึกษา
- ผลการประเมินการสอน - บันทึกของกลุ่มอาจารย์ผู้สอน
สาขาวิชาออกแบบสื่อสาร มีกระบวนการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา ดังนี้
- การสุ่มสัมภาษณ์โดยคณะกรรมการทวนสอบระดับหลักสูตร
- การประเมินโดยกรรมการประจำหลักสูตร หรือผู้ทรงคุณวุฒิภายในภายนอก
เมื่อสิ้นสุดทุกปีการศึกษา อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาจะจัดประชุม /ติดต่อขอความคิดเห็นจากอาจารย์ที่ร่วมสอน รวมทั้ง พิจารณาสรุปผลการประเมินการสอน ผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา เพื่อกำหนดประเด็นที่เห็นสมควรจัดให้มีการปรับปรุงในการศึกษา ต่อไป ทั้งเนื้อหา ลำดับการสอน วิธีการสอนและการประเมินผล ปรับปรุงรายวิชาและวิธีการจัดการเรียนการสอนในปีการศึกษาถัดไป ตามข้อเสนอแนะตามข้อเห็นของนักศึกษา ๑ ดำเนินการทบทวนปรับปรุงรายวิชาในทุก ๕ ปีตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรของ หรือ ในกรณีที่พบปัญหา มีวิทยากรจากภายนอกมาบรรยายเสริม เพื่อรับประสบการณ์หรือสภาพปัญหาในการทำงานจริง ปรับหัวข้องาน ปฏิบัติที่มอบหมาย หรือปรับหัวข้อในโครงการประกวดภาพถ่ายให้ตรงกับความสนใจของผู้เรียน