การฝึกพื้นฐานทางวิศวกรรมเครื่องกล

Basic Mechanical Engineering Training

1.1 ฝึกปฏิบัติงานพื้นฐานทางด้านวิศวกรรมที่เกี่ยวข้องกับการใช้เครื่องมือช่างเทคนิคพื้นฐานและเครื่องมือวัด
1.2 ฝึกปฏิบัติการยึดด้วยสลักเกลียว
1.3 ฝึกปฏิบัติการเจาะและการกลึงชิ้นงาน
1.4 ฝึกปฏิบัติการทำเกลียวนอกและเกลียวใน
1.5 ฝึกปฏิบัติการเชื่อมชิ้นงาน
1.6 ฝึกปฏิบัติการตรวจสอบและการบำรุงรักษาลวดสลิง โซ่ รอก
1.7 ฝึกการปฏิบัติงานโดยคำนึงถึงความปลอดภัยและชีวอนามัย
เพื่อฝึกปฏิบัติงานพื้นฐานทางด้านวิศวกรรมที่เกี่ยวข้องกับการใช้เครื่องมือช่างเทคนิคพื้นฐานและเครื่องมือวัด การยึดด้วยสลักเกลียว การเจาะและการกลึงชิ้นงาน การทำเกลียวนอกและเกลียวใน การเชื่อมชิ้นงาน การตรวจสอบและการบำรุงรักษาลวดสลิง โซ่ รอก และการปฏิบัติงานโดยคำนึงถึงความปลอดภัยและชีวอนามัย
ฝึกปฏิบัติงานพื้นฐานทางด้านวิศวกรรมที่เกี่ยวข้องกับการใช้เครื่องมือช่างเทคนิคพื้นฐานและเครื่องมือวัด การยึดด้วยสลักเกลียว การเจาะและการกลึงชิ้นงาน การทำเกลียวนอกและเกลียวใน การเชื่อมชิ้นงาน การตรวจสอบและการบำรุงรักษาลวดสลิง โซ่ รอก และการปฏิบัติงานโดยคำนึงถึงความปลอดภัยและชีวอนามัย
อาจารย์ประจำวิชาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ
1.1.2 มีวินัย ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม
1.1.4 สามารถวิเคราะห์และประเมินผลกระทบจากการใช้ความรู้ทางวิศวกรรมต่อบุคคล องค์กรสังและสิ่งแวดล้อม
1.1.5 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ และมีความรับผิดชอบในฐานะผู้ประกอบวิชาชีพ รวมถึงเข้าใจบทบาททางสังคมของวิชาชีพวิศวกรรมในแต่ละสาขาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
1.2.1 สอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรมในการสอน รวมทั้งมีการจัดกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม
1.2.2 การบันทึกเข้าชั้นเรียน การตรงต่อเวลาในการส่งงาน ตลอดจนการปฏิบัติที่ขัดต่อระเบียบของมหาวิทยาลัย
1.3.1 ประเมินจากการสังเกตการแต่งกาย คุณธรรม จริยธรรม การเสียสละ การซื่อสัตย์สุจริต
1.3.2 ประเมินจากพฤติกรรมการเข้าเรียน และการส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตของงานและการตรงต่อเวลา เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ของมหาวิทยาลัย
2.1.2 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลัการที่สำคัญ ทั้งในเชิงทฤษฎีและปฏิบัติในเนื้อหาของสาขาวิชาเฉพาะด้านทางวิศวกรรม
2.1.4 สามารถวิเคราะห์และแก้ไขปัญหาด้วยวิธีการที่เหมาะสม รวมถึงการประยุกต์ใช้เครื่องมือที่เหมาะสม
2.1.5 สามารถใช้ความรู้และทักษะในสาขาวิชาของตน ในการประยุกต์แก้ไขปัญหาในงานจริงได้
2.2.1 ใช้การเรียนการสอนหลากหลายรูปแบบ โดยทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี ทั้งนี้ให้เป็นไปตามลักษณะของรายวิชาตลอดจนเนื้อหาสาระของรายวิชานั้นๆ
2.3.1 ประเมินจากงานที่ได้รับมอบหมาย
3.1.3 สามารถคิด วิเคราะห์ และแก้ไขปัญหาด้านวิศวกรรมได้อย่างเป็นระบบ รวมถึงการใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3.1.5 สามารถสืบค้นข้อมูลและแสวงหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต และทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางองค์ความรู้และเทคโนโลยีใหม่ๆ
3.2.1 ใช้การเรียนการสอนหลากหลายรูปแบบ โดยทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี ทั้งนี้ให้เป็นไปตามลักษณะของรายวิชาตลอดจนเนื้อหาสาระของรายวิชานั้นๆ
3.3.1 ประเมินจากงานที่ได้รับมอบหมาย
4.1.3 สามารถวางแผนและรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเอง และสอดคล้องกับทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
4.1.4 รู้จักบทบาท หน้าที่ และมีความรับผิดชอบในการทำงานตามที่มอบหมาย ทั้งงานบุคคลและงานกลุ่ม สามารถปรับตัวและทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถวางตัวได้อย่างเหมาะสมกับความรับผิดชอบ
4.1.5 มีจิตสำนึกความรับผิดชอบด้านความปลอดภัยในการทำงาน และการรักษาสภาพแวดล้อมต่อสังคม
4.2.1 ใช้การสอนที่มีการกำหนดกิจกรรมให้มีการทำงานเป็นกลุ่ม การอภิปรายกลุ่ม การทำงานที่ต้องประสานงานกับผู้อื่น
4.3.1 ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษาในการอภิปรายกลุ่ม นำเสนอรายงานกลุ่ม และการร่วมกิจกรรมต่างๆ โดยคำนึงถึงความปลอดภัยและผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
5.1.4 มีทักษะในการสื่อสารข้อมูลทั้งการพูด การเขียน และการสื่อความหมายโดยใช้สัญลักษณ์
5.1.5 สามารถใชเครื่องมือการคำนวณและเครื่องมือทางวิศวกรรม เพื่อประกอบวิชาชีพในสาขาวิศวกรรมที่เกี่ยวข้องได้
5.2.1 ใช้การสอนที่มีการกำหนดกิจกรรมให้มีการทำงานเป็นกลุ่ม การนำเสนอโครงงาน โดยการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม
5.3.1 ประเมินจากการใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศ หรือคณิตศาสตร์และสถิติที่เกี่ยวข้องทางวิศวกรรมศาสตร์
5.3.2 ประเมินจากความสามารถในการอภิปราย การนำเสนองานที่ได้รับมอบหมาย
6.1.1 มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการได้อย่างมีประสิทธิภาพ
6.1.2 มีทักษะในการปฏิบัติงานกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ และมีความร่วมมือกันเป็นอย่างดี
6.2.1 ทบทวนความรู้ที่เกี่ยวข้อง
6.2.2 สาธิตการปฏิบัติการ
6.2.3 สร้างทักษะในการปฏิบัติงาน
6.2.4 ประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานจริง
6.3.1 มีการประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติงาน
6.3.2 มีการประเมินผลการปฏิบัติงานในภาคปฏิบัติ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรมจริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลเเละความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1.2 มีวินัย ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม 1.1.4 สามารถวิเคราะห์และประเมินผลกระทบจากการใช้ความรู้ทางวิศวกรรมต่อบุคคล องค์กรสังและสิ่งแวดล้อม 1.1.5 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ และมีความรับผิดชอบในฐานะผู้ประกอบวิชาชีพ รวมถึงเข้าใจบทบาททางสังคมของวิชาชีพวิศวกรรมในแต่ละสาขาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน 2.1.2 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลัการที่สำคัญ ทั้งในเชิงทฤษฎีและปฏิบัติในเนื้อหาของสาขาวิชาเฉพาะด้านทางวิศวกรรม 2.1.4 สามารถวิเคราะห์และแก้ไขปัญหาด้วยวิธีการที่เหมาะสม รวมถึงการประยุกต์ใช้เครื่องมือที่เหมาะสม 2.1.5 สามารถใช้ความรู้และทักษะในสาขาวิชาของตน ในการประยุกต์แก้ไขปัญหาในงานจริงได้ 3.1.3 สามารถคิด วิเคราะห์ และแก้ไขปัญหาด้านวิศวกรรมได้อย่างเป็นระบบ รวมถึงการใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3.1.5 สามารถสืบค้นข้อมูลและแสวงหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต และทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางองค์ความรู้และเทคโนโลยีใหม่ๆ 4.1.3 สามารถวางแผนและรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเอง และสอดคล้องกับทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง 4.1.4 รู้จักบทบาท หน้าที่ และมีความรับผิดชอบในการทำงานตามที่มอบหมาย ทั้งงานบุคคลและงานกลุ่ม สามารถปรับตัวและทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถวางตัวได้อย่างเหมาะสมกับความรับผิดชอบ 4.1.5 มีจิตสำนึกความรับผิดชอบด้านความปลอดภัยในการทำงาน และการรักษาสภาพแวดล้อมต่อสังคม 5.1.4 มีทักษะในการสื่อสารข้อมูลทั้งการพูด การเขียน และการสื่อความหมายโดยใช้สัญลักษณ์ 5.1.5 สามารถใชเครื่องมือการคำนวณและเครื่องมือทางวิศวกรรม เพื่อประกอบวิชาชีพในสาขาวิศวกรรมที่เกี่ยวข้องได้ 6.1.1 มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการได้อย่างมีประสิทธิภาพ 6.1.2 มีทักษะในการปฏิบัติงานกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ และมีความร่วมมือกันเป็นอย่างดี
1 ENGME169 การฝึกพื้นฐานทางวิศวกรรมเครื่องกล
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ความรับผิดชอบต่อหน้าที่ การตรงต่อเวลา และการฝึกความเป็นระเบียบ มีวินัยในตนเอง การแต่งกาย ความตั้งใจในการปฏิบัติงาน การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วมในการเสนอแนวความคิดและอภิปรายร่วมกันในชั้นเรียน 1-17 20
2 ทักษะการปฏิบัติงาน การใช้เครื่องมือ และการบำรุงรักษาเบื้องต้น รวมถึงการฝึกความอดทน และมีระเบียบวินัย ความรับผิดชอบในการทำงาน อย่างถูกต้อง เหมาะสม การส่งงานปฏิบัติตามลำดับขั้นของใบงาน 1-17 60
3 การเตรียมความพร้อม และฝึกการสืบค้นองค์ความรู้จากห้องสมุด สื่อออนไลน์ ความรับผิดชอบต่องานที่รับมอบหมายเพิ่มเติม เพื่อเพิ่มศักยภาพ และเตรียมความพร้อมในการเรียนแต่ละหัวข้อของสัปดาห์ งานที่ได้รับมอบหมาย 1-17 10
4 ทักษะการปฏิบัติงาน การอ่านเครื่องมือวัด ปฏิบัติการอ่านเครื่องมือวัดขนาดชิ้นงาน 1-17 10
1.1  สงวนศิลป์  ภูหนองโอง , จรูญ  พรมสุทธิ์  , อำนาจ  ทองแสน.  งานฝึกฝีมือ.  นนทบุรี : บริษัท ศูนย์หนังสือ เมืองไทย จำกัด 1.2  อำพล  ซื่อตรง  ,รองศาสตราจารย์วันชัย  จันทรวงศ์  ,อาจารย์ดีเตอร์  ชิปเปิร์ท.  งานฝึกฝีมือ.  กรุงเทพฯ : ศูนย์ส่งเสริมวิชาการ 1.3  อนันต์  วงศ์กระจ่าง.  ทฤษฎีงานฝึกฝีมือ.  กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ศรีสยาม 1.4  ธัญญลักษณ์  ก้องสมุท.  ปฏิบัติงานฝึกฝีมือ.  สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตนทบุรี.  นนทบุรี :  ศูนย์ส่งเสริมวิชาการ 1.5  ไชยศักดิ์  ศรีสุขเดช.  การวัดละเอียด.  สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล  วิทยาเขตตาก.  กรุงเทพฯ : ศูนย์ส่งเสริมวิชาการ
แบบประเมินอาจารย์ผู้สอนและแบบประเมินนักศึกษา หลังจบภาคเรียน ในระบบทะเบียนกลาง
2.1  การสังเกตจากการเรียนการสอน 2.2  ผลงานที่ได้รับมอบหมาย
ปรับปรุงแก้ไขการเรียนการสอนตามผลการประเมินของนักศึกษา และให้สอดคล้องกับทรัพยากรที่มีอยู่จริง
4.1  การทดสอบการเรียนการสอนก่อนปิดภาคเรียน ทั้งทฤษฎีและการปฏิบัติ 4.2 รายงานผลการเรียนต่อฝ่ายทะเบียนและวัดผล
5.1 ปรับปรุงแนวการสอนจากผลการเมินของนักศึกษาทุกๆ ปี