ออกแบบเฟอร์นิเจอร์สร้างสรรค์
Creative Furniture Design
1. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการออกแบบเฟอร์นิเจอร์เชิง
สร้างสรรค์ มโนทัศน์ จินตนาการต่อการออกแบบ กระบวนการสร้างสรรค์
2. นักศึกษามีทักษะและเทคนิคในวิธีการสร้างสรรค์ในรูปแบบต่างๆ และแนวทางในการ
ออกแบบเฟอร์นิเจอร์เชิงสร้างสรรค์
3. เพื่อใช้ความคิดสร้างสรรค์ทําการออกแบบเฟอร์นิเจอร์เชิงสร้างสารรค์ให้มีรูปแบบและ
ประโยชน์ใช้สอยที่เหมาะสม สามารถผลิตได้
4. ฝึกปฏิบัติการออกแบบเฟอร์นิเจอร์เชิงสร้างสรรค์เพื่อพัฒนาความรู้ความสามารถและ
นําไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานในวิชาชีพได้
เพื่อให้นักศึกษามีผลสัมฤทธิ์ผลทางการเรียนที่สอดคล้องกับจุดมุ่งหมายของ
รายวิชา มีเนื้อหาในการเรียนการสอนที่ปรับเปลี่ยนไปตามความเหมาะสม ตามยุคสมัย
ฝึกปฏิบัติออกแบบเฟอร์นิเจอร์ โดยใช้หลักการออกแบบเฟอร์นิเจอร์ รูปแบบการคิดสร้างสรรค์และแรงบันดาลใจในการออกแบบเฟอร์นิเจอร์ สัดส่วนของเฟอร์นิเจอร์กับการใช้งานของมนุษย์ วัสดุส าหรับเฟอร์นิเจอร์ เช่น ไม้ โลหะ และวัสดุสมัยใหม่ ลักษณะโครงสร้างเฟอร์นิเจอร์ อุปกรณ์และกรรมวิธีการผลิตในระบบอุตสาหกรรม การจัดท าต้นแบบ และการแสดงแบบเฟอร์นิเจอร์
1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์
1.1 คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ โดยมีคุณธรรม
จริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร ดังนี้
1. ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ ซื่อสัตย์สุจริต กตัญ^ูและ
เที่ยงธรรม
2. มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบหน้าที่ มีความมุ่งมั่นในการทํางานให้
สําเร็จ
3. สุภาพอ่อนน้อม ถ่อมตน รู้จักกาละเทศะ ใจกว้าง เคารพสิทธิและรับฟังความคิด
เห็นผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
4. มีนํ้าใจ มีจิตอาสา จิตสาธารณะเห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวมและเห็นอกเห็นใจผู้อื่น
5. มีความพอเพียง
6. เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
7. มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
1.2.1 บรรยายพร้อมยกตัวอย่างเกี่ยวกับประเด็นทางคุณธรรม และ จริยธรรม
1.2.2 อาจารย์ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดี
1.2.3 สอดแทรกเนื้อหาเกี่ยวกับด้านคุณธรรม จริยธรรมเกี่ยวกับวิชาชีพในการครอง
ตนและการศึกษาระหว่างสอน
1.2.4 สอดแทรกประสบการณ์ด้านจรรยาบรรณวิชาชีพและผลกระทบของการละเมิด
ลิขสิทธิ์ทางปัญญาที่อาจเกิดขึ้นโดยนักออกแบบที่ไร้จรรยาบรรณ
1.3.1 พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรง
เวลา
1.3.2 พฤติกรรมที่แสดงออกในชั้นเรียนและกิจกรรมที่สาขาฯจัดขึ้น
1.3.3 สังเกตพฤติกรรมการทํางานเดี่ยวและกลุ่ม ร่วมกัน การแก้ปัญหา การเสีย
สละการบริหารจัดการงานส่วนรวม
1.3.4 มีการตกลงกับนักศีกษาในครั้งแรกของการเรียน เรื่องระเบียบการเข้าชั้น
เรียน โดยหากว่ามาช้ากว่าที่กําหนด 15 นาที ถือว่ามาสาย เข้าชั้นเรียนสาย 3 ครั้งถือว่า
ขาด 1 ครั้ง หากขาดเกิน 3 ครั้ง หมดสิทธิ์สอบ
2.1 ความรู้ที่ต้องได้รับ
2.1.1 มีความรู้ความเข้าใจหลักการเกี่ยวกับการออกแบบผลิตภัณฑ์ทั้งทางทฤษฎีและ
ปฏิบัติ
2.1.2 มีความรู้เรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อนํามาใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลจากโจทย์ที่ได้รับ
มอบหมายได้
2.1.3 นําความรู้เรื่องการออกแบบผลิตภัณฑ์เชิงสร้างสรรค์มาทําหุ่นจําลอง
2.1.4 นําผลการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อการออกแบบมาทําการออกแบบและผลิตจริง เลือกใช้
วัสดุที่เหมาะสมกับประโยชน์ใช้สอยในงานออกแบบผลิตภัณฑ์เชิงสร้างสรรค์และนําเสนอ
ผลงาน
1. เน้นการเรียนการสอนที่เป็น active learning
2. จัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริง
3. สาธิตการผลิตผลิตภัณฑ์เชิงสร้างสรรค์
4. นักศึกษาฝึกปฏิบัติด้วยตนเอง
5. บรรยายในชั้นเรียน ยกตัวอย่างและให้ปฏิบัติงาน
2.3.1 การนําเสนอหน้าชั้นเรียนการสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
2.3.2 ประเมินจากรายงานการศึกษาค้นคว้าของนักศึกษา
2.3.3 ประเมินจากการวิเคราะห์กรณีศึกษา
2.3.4 ประเมินจากพฤติกรรมการทํางานอื่นๆ
3.1 ทักษะทางปัญญา ที่ต้องพัฒนา
พัฒนาความสามารถในการคิดเชิงสร้างสรรค์ พร้อมไปกับการคิดวิเคราะห์ตามหลักการ
และเหตุผล เพื่อให้การสร้างสรรค์นั้นตอบสนองการใช้งานจริง เทคนิคในการพูดในการ
อธิบายการนําเสนองานออกแบบ
3.2.1 บรรยาย และการให้นักศึกษาปฏิบัติโครงงานที่ให้วิเคราะห์และแก้ไขปัญหา
3.2.2 ฝึกตอบคําถามในชั้นเรียนแสดงความคิดเห็นต่อปัญหา ระดมสมองในการแก้
ปัญหา
3.2.3 มอบหมายงานเดี่ยวและงานกลุ่ม
3.2.4 การสะท้อนแนวคิดจากการประพฤติ
3.3.1 ผลงานตลอดภาคเรียน
3.3.2 การนําเสนอผลงาน
3.3.3 การใช้ข้อสอบหรือแบบฝึกหัดที่ให้นักศึกษาคิดแก้ปัญหา
4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ที่ต้องพัฒนา
4.1.1 พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
4.1.2 พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบ
ถ้วนตามกําหนดเวลา
4.2.1 มอบหมายงานรายกลุ่มเพื่อให้นักศึกษาได้ทํางานกับผู้อื่น และรายงานราย
บุคคล
4.2.2 กําหนดหน้าที่รับผิดชอบของนักศึกษาแต่ละคนให้ชัดเจน
4.2.3 การนําเสนอรายงาน
4.3.1 ประเมินจากรายงานที่นําเสนอ การมีส่วนร่วมในการทํางานกลุ่ม
4.3.2 ประเมินจากงานที่มอบหมาย
5.1 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้อง
พัฒนา
5.1.1 ทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลจากกรณีศึกษา
5.1.2 พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การเขียน โดยทํารายงานการนํา
เสนอหน้าชั้นเรียน
5.1.3 พัฒนาทักษะในการสืบค้น ข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
5.1.4 ทักษะในการนําเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.2.1 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์ โดยเน้นการนําตัวเลข
หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
5.2.2 นําเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.2.3 ใช้ Power Piont บรรยาย
- ฝึกทักษะการวิเคราะห์และแก้ปัญหาในกรณีเหตุการณ์สมมติ
- การแนะนําเทคนิคการสืบค้นและคัดเลือกแหล่งข้อมูล
5.3.1 ตรวจสอบความถูกต้องของแนวคิด และวิธีการแก้ปัญหาโดยใช้พื้นฐานความรู้
ที่เรียนมา
5.3.2 จากผลการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
5.3.3 ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนําเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
5.3.4 ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
6.1 ผลการเรียนรู้ด้านทักษะพิสัย
6.1.1 มีทักษะในการออกแบบผลิตภัณฑ์เชิงสร้างสรรค์ สุนทรียศาสตร์ ภาพลักษณ์
อัตลักษณ์ สิ่งแวดล้อมและนวัตกรรม
6.1.2 มีทักษะด้านความคิดสร้างสรรค์ในการนําไปใช้ในการออกแบบผลิตภัณฑ์ได้อย่าง
เหมาะสมกับผลิตภัณฑ์
6.1.3 มีทักษะในการวิเคราะห์และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับพัฒนาการในผลงานของ
ตนเองและผู้อื่นเพื่อนําไปสู่การประยุกต์ในงานออกแบบได้
6.2.1 บรรยายประกอบการยกตัวอย่างด้วยสื่อการสอนมัลติมีเดีย สาธิต การคิด
วิเคราะห์ ถาม ตอบในชั้นเรียน
6.2.2 มอบหมายงานให้ไปปฏิบัติงานในการออกแบบเพื่อฝึกทักษะ
6.2.3 วิเคราะห์ วิพากษ์ผลงานของนักศึกษาแต่ละชิ้น เพื่อเป็นการเรียนรู้ร่วมกันในชั้น
เรียน
ประเมินจากผลงานที่ได้ปฏิบัติงานของนักศึกษาที่ได้รับมอบหมาย ตามกระบวนการ
ออกแบบ การปฏิบัติงานและการนําเสนอผลงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา | .๑.คุณธรรม จริยธรรม | ๒.ความรู้ | ๓.ทักษะทางปญัญา | ๔.ทักษะ ความสัมพันธ์ ระหว่างบุคคลและ ความรับผิดชอบ | ๕.ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ | ๖.ทักษะ พิสัย | ||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ลำดับ | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | ๑ | ๒ | ๓ | ๑ | ๒ | ๓ | ๔ | ๑ | ๒ | ๓ | ๔ | ๑ | ๒ | ๓ | ๑ | ๒ | ๓ | ๑ |
1 | BAAID160 | ออกแบบเฟอร์นิเจอร์สร้างสรรค์ |
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | ความรู้ - มีความรู้ ทักษะความสามารถใน การออกแบบผลิตภัณฑ์เชิงสร้างสรรค์ | 1. สอบ กลางภาค สอบปลาย ภาค 2. คะแนนจาก การประเมิน งานที่ได้รับ มอบหมาย | 1 - 17 | 60 % |
2 | ทักษะทางปัญญา - มีความสามารถในการใช้ ระบบคิดที่วิเคราะห์ และวิพากษ์ได้ - มีความ สามารถในการประยุกต์ความรู้ที่ได้รับเพื่อ แก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น - มีความสามารถใน การประเมินและสรุปประเด็น - มีความ สามารถเรียนรู้ด้วยตนเอง | 1. สอบ กลางภาค สอบปลาย ภาค 2. คะแนนจาก การประเมิน งานที่ได้รับ มอบหมาย | 1-17 | 20 % |
3 | ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความ รับผิดชอบ - มีจิตสํานึกต่อภาระหน้าที่ที่ได้ รับมอบหมาย - มีความสามารถในการปรับ ตัวในการทํางานร่วมกับผู้อื่นและแก้ไขปัญหา สถานการณ์ต่างๆได้อย่างเหมาะสม - มี ความสามารถในการวางแผนและรับผิดชอบ ในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองทั้งด้าน วิชาการและวิชาชีพ | 1. คะแนน ส่วนร่วมใน ชั้นเรียน 2. คะแนนจาก การประเมิน งานที่ได้รับ มอบหมาย | 1-7,9-16 | 20 % |
นิรัช สุดสังข์. ออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม. กรุงเทพฯ :โอเดียนสโตร์, 2548.
ตระกูลพันธ์ พัชรเมธา. การนําเสนองานออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม. กรุงเทพฯ :
โอเดียนสโตร์, 2548.
พรทิพย์ เรืองธรรม. ทฤษฎีการออกแบบ. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ์อิทนิล,
นวลน้อย บุญวงศ์. หลักการออกแบบ. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ์จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย, 2539.
อุดมศักดิ์ สาริบุตร. เทคโนโลยีผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์,
2549
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ที่จัดทําโดยนักศึกษาได้จัดกิจกรรมในการนําแนวคิดและ
ความเห็นจากนักศึกษาไว้ดังนี้
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชาตามแบบประเมินการสอนโดยมหาวิทยา
ลัยฯ
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้สอนร่วม
2.2 การประเมินผลการเรียนของนักศึกษาโดยอาจารย์ผู้สอน
2.3 การประเมินผลการเรียนและการปฏิบัติการของนักศึกษาโดยอาจารย์ผู้สอน
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอนโดยการจัดกิจกรรม
ในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 การนําผลงานวิจัยและงานบริการวิชาการ งานสร้างสรรค์ มาบูรณาการกับการ
เรียนการสอน
3.3 การนําผลประเมินจาก มคอ.5 และ มคอ.7 มาปรับปรุงในการเรียนการสอน
3.4 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาด
หวังจากการเรียนรู้ในวิชาได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของ
นักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลกาทดสอบย่อยและหลังการออกผลการเรียนรายวิชา
มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 ตรวจสอบความรู้ของนักศึกษาอย่างสมํ่าเสมอ โดยการสอบถามนักศึกษาได้
แสดงความคิดเห็นระหว่างเรียน
4.2 กลุ่มอาจารย์ผู้สอน ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษาโดยตรวจ
สอบข้อสอบ วิธีการให้คะแนนสอบ ผลงานของนักศึกษา การให้คะแนนพฤติกรรมในการ
เรียนและการส่งงานของนักศึกษา
4.3 อาจารย์ในสาขามีการประชุมหารือร่วมกันเพื่อทวนสอบการให้คะแนนของรายวิชา
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการ
ปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผล
สัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์
ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์
5.3 อาจารย์ผู้สอนดําเนินการปรับปรุงรายละเอียดวิชา (มคอ.3) ตามแนวทางที่ได้
จากการประเมินผล และนําผลการประเมิน ข้อคิดเห็นต่างๆ มาพัฒนาเนื้อหาสาระ
ปรับปรุงสื่อการสอน รายละเอียดการสอนให้มีเนื้อหาที่ทันสมัยอยู่เสมอ