ระบบไมโครคอมพิวเตอร์และการอินเตอร์เฟสซิ่ง
Microcomputer System and Interfacing
ศึกษาการจัดองค์กรภายในไมโครคอมพิวเตอร์ ไมโครโปรเซสเซอร์ ศึกษาซอฟต์แวร์สำหรับไมโครคอมพิวเตอร์ ศึกษาโปรแกรมควบคุมระบบงานและโปรแกรมประยุกต์ ศึกษามโนภาพของการอินเตอร์เฟสซิ่ง แฮนเช็คกิ้ง โปรแกรมขัดจังหวะ ศึกษาการอินเตอร์เฟสแบบอนุกรมและขนาน ศึกษาการเชื่อมโยงไมโครคอมพิวเตอร์กับคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ ฝึกปฏิบัติการประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์ และแก้ปัญหาเครื่องคอมพิวเตอร์
เพื่อพัฒนาเนื้อหารายวิชาให้ทันสมัย
ศึกษาการจัดองค์กรภายในไมโครคอมพิวเตอร์ ไมโครโปรเซสเซอร์ ชนิด 8 บิต 16 บิต 32 บิต และ 64 บิต ศึกษาซอฟต์แวร์สำหรับไมโครคอมพิวเตอร์ ศึกษาโปรแกรมควบคุมระบบงานและโปรแกรมประยุกต์ ศึกษามโนภาพของการอินเตอร์เฟสซิ่ง แฮนเช็คกิ้ง โปรแกรมขัดจังหวะ ศึกษาการอินเตอร์เฟสแบบอนุกรมและขนาน ศึกษาการเชื่อมโยงไมโครคอมพิวเตอร์กับคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ ฝึกปฏิบัติการประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์ และแก้ปัญหาเครื่องคอมพิวเตอร์
วันศุกร์ ของสัปดาห์
1. มีวินัยตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเองวิชาชีพและสังคม
1. ประเมินจากการตรงเวลาของนักศึกษาในภาพเข้าชั้นเรียนการส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมายและการร่วมกิจกรรม
2. ประเมินจากการมีวินัยและพร้อมเพรียงของนักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร
3. ปริมาณการกระทำทุจริตในการสอบ
4. ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
2. ประเมินจากการมีวินัยและพร้อมเพรียงของนักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร
3. ปริมาณการกระทำทุจริตในการสอบ
4. ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
ร้อยละ 10
1. มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาสาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์
2. สามารถวิเคราะห์ปัญหาเข้าใจและอธิบายความต้องการทางคอมพิวเตอร์รวมทั้งประยุกต์ความรู้ทักษะและการใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ไขปัญหา
2. สามารถวิเคราะห์ปัญหาเข้าใจและอธิบายความต้องการทางคอมพิวเตอร์รวมทั้งประยุกต์ความรู้ทักษะและการใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ไขปัญหา
1. การทดสอบย่อย
2. การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
3. ประเมินจากรายงานที่นักศึกษาจัดทำ
4. ประเมินจากโครงการที่นำเสนอ
5. ประเมินจากการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
6. ประเมินจากรายวิชาประสบการณ์วิชาชีพ
2. การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
3. ประเมินจากรายงานที่นักศึกษาจัดทำ
4. ประเมินจากโครงการที่นำเสนอ
5. ประเมินจากการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
6. ประเมินจากรายวิชาประสบการณ์วิชาชีพ
ร้อยละ 60
1. คิดอย่างมีวิจารณญาณและอย่างเป็นระบบ
2. สามารถประยุกต์ความรู้และทักษะกับการแก้ไขปัญหาทางคอมพิวเตอร์ได้อย่างเหมาะสม
2. สามารถประยุกต์ความรู้และทักษะกับการแก้ไขปัญหาทางคอมพิวเตอร์ได้อย่างเหมาะสม
1. ประเมินตามสภาพจริงจากผลงานและการปฏิบัติของนักศึกษา เช่น ประเมินจากการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน การทดสอบโดยใช้แบบทดสอบหรือสัมภาษณ์ เป็นต้น
ร้อยละ 20
1. มีความรับผิดชอบในการกระทำของตนเองและรับผิดชอบงานในกลุ่ม
1. ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษาในการนำเสนอรายงานกลุ่มในชั้นเรียนและสังเกตจากพฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่าง ๆ และความครบถ้วน ชัดเจน ตรงประเด็นของข้อมูล
ร้อยละ 5
1. มีทักษะในการใช้เครื่องมือที่จำเป็นที่มีอยู่ในปัจจุบันต่อการทำงานที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
2. สามารถแนะนำประเด็นการแก้ไขปัญหาโดยใช้สารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือการแสดงสถิติประยุกต์ต่อปัญหาที่เกี่ยวข้องอย่างสร้างสรรค์
2. สามารถแนะนำประเด็นการแก้ไขปัญหาโดยใช้สารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือการแสดงสถิติประยุกต์ต่อปัญหาที่เกี่ยวข้องอย่างสร้างสรรค์
1. ประเมินจากเทคนิคการนำเสนอโดยใช้ทฤษฎีการเลือกใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศหรือคณิตศาสตร์และสถิติที่เกี่ยวข้อง
2. ประเมินจากความสามารถในการอธิบายถึงข้อจำกัดเหตุผลในการเลือกใช้เครื่องมือต่าง ๆ การอภิปรายกรณีศึกษาต่าง ๆ มีการนำเสนอต่อชั้นเรียน
2. ประเมินจากความสามารถในการอธิบายถึงข้อจำกัดเหตุผลในการเลือกใช้เครื่องมือต่าง ๆ การอภิปรายกรณีศึกษาต่าง ๆ มีการนำเสนอต่อชั้นเรียน
ร้อยละ 5
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | 1.1 1.2, 2.1, 2.3, 3.1 | 1. ทดสอบปฏิบัติย่อยครั้งที่ 1 2. สอบกลางภาค, 3. ทดสอบปฏิบัติย่อยครั้งที่ 2 4. สอบปลายภาค | 4, 9, 12, 16 | 10%, 25%, 10%, 25% |
2 | 1.1,1.2, 2.1-2.3 4.4, 5.1-5.3 | วิเคราะห์กรณีศึกษาค้นคว้า การนำเสนอผลงาน รายงานผลการเขียนโปรแกรมตามใบงาน การทำงานกลุ่ม/เดี่ยวและผลงาน การเขียนโปรแกรมและสรุปผลการทำงานโปรแกรม การส่งงานตามที่มอบหมายตรงเวลา | ตลอดภาคการศึกษา | 20% |
3 | 1.1,1.2, 3.1 4.4 5.1 , 5.2 | การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย/นำเสนอ เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน | ตลอดภาคการศึกษา | 10% |
1. จักรพันธ์ จิตรทรัพย์. (2546). ใบงานทดลองไมโครคอนโทรลเลอร์ MCS-51. กรุงเทพฯ: บริษัท อีทีที จำกัด.
2. ชินาพัฒน์ สกุลราศรีสวย, ตรี วาทกิจ, ลาภวัต วงศ์ประชา และสมเทพ, อังศุมาลิน. (2018). การเปรียบเทียบประสิทธิภาพระบบควบคุมอุณหภูมิและความชื้นที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของเห็ดในโรงเพาะเห็ด กรณีศึกษา: ฟาร์มเห็ดบ้านเนินสะอาด จังหวัดนครพนม. Journal Of Information Sciences And Technology, 8(2), 46-55.
3. ไชยยันต์ บุญมี และนภัทร วัจนเทพินทร์. (2545). คู่มือการทดลองไมโครโปรเซสเซอร์และอินเตอร์เฟซ. กรุงเทพฯ: บริษัทสกายบุ๊กส์ จำกัด.
4. ดอนสัน ปงผาบ. (2553). ไมโครอคอนโทรลเลอร์และการประยุกต์ใช้งาน 1 (ฉบับปรับปรุง). กรุงเทพฯ: สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น).
5. เดชฤทธิ์ มณีธรรม และสำเริง เด็มราม. (2548). คัมภีร์ไมโครคอนโทรลเลอร์ MCS-51. กรุงเทพฯ: เคทีพี คอมพ์แอนคอนซัลท์.
6. ทีมงานสมาร์ทเลิร์นนิ่ง. (2552). เรียนรู้ไมโครคอนโทรลเลอร์ MCS-51 ด้วยภาษา C พร้อมโครงงาน. กรุงเทพฯ: ห้างหุ้นส่วนสามัญสมาร์ทเลิร์นนิ่ง.
7. ธีรบูลย์ หล่อวิเชียรรุ่ง, นคร ภักดีชาติ และชัยวัฒน์ ลิ้มพรจิตรวิไล. (2541). ปฏิบัติการไมโครคอนโทรลเลอร์ MCS-51 ด้วยโปรแกรมภาษา C. กรุงเทพฯ: บริษัท อินโนเวตีฟ เอ็กเพอริเมนต์ จำกัด.
8. ธีรวัฒน์ ประกอบผล. (2545). การพัฒนาไมโครคอนโทรลเลอร์ด้วยภาษาซี. กรุงเทพฯ: สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น).
9. ธีรวัฒน์ ประกอบผล. (2546). การประยุกต์ใช้งานไมโครคอนโทรลเลอร์. กรุงเทพฯ: สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น).
10. ธีรวัฒน์ ประกอบผล. (2548). ภาษาแอสเซมบลีสำหรับ MCS-51. กรุงเทพฯ: สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น).
11. ธีรวัฒน์ ประกอบผล. (2551). ไมโครโปรเซสเซอร์. กรุงเทพฯ: บริษัท สำนักพิมพ์ท้อป จำกัด.
12. ประจิน พลังสันติกุล และชัยวัฒน์ ลิ้มพรจิตรวิไล. (2550). ไมโครคอนโทรลเลอร์ MCS-51 กับ Keil C51. กรุงเทพฯ: อินโนเวตีฟ เอ็กเพอริเมนต์.
13. ประภาส สุวรรณเพรช. (2547). เอกสารประกอบการสอนวิชาไมโครคอนโทรลเลอร์ (3105-2014) Retrieved from http://www.mediafire.com/file/9i4grjjon6gs5jh/KruPraphasMCS51-Book.pdf
14. พนัส นัถฤทธิ์. (2560). ไมโครคอนโทรลเลอร์และการประยุกต์ใช้งานควบคุมหุ่นยนต์. พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยนเรศวร.
15. พิศาล พิทยาธุรวิวัฒน์. (2556). ติดตั้งระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ Intranet/Internet ฉบับผู้เริ่มต้น. กรุงเทพฯ: บริษัทซีเอ็ดยูเคชั้น จำกัด (มหาชน).
16. มงคล ทองสงคราม. (2536). ไมโครโพรเซสเซอร์ (Z80). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์พรศิวการพิมพ์.
17. มงคล ธุระ. (2541). วงจรไฟฟ้าภาคทฤษฏี. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จิตรวัฒน์.
18. วรพจน์ กรแก้ววัฒนกุล และชัยวัฒน์ ลิ้มพรจิตรวิไล. (2550). เรียนรู้และปฏิบัติการไมโครคอนโทรลเลอร์ MCS-51. กรุงเทพฯ: อินโนเวตีฟ เอ็กเพอริเมนต์.
19. วศิน เพิ่มทรัพย์, ปัทมาภรณ์ พิมพ์หานาม, วิโรจน์ ชัยมูล, สุพรรษา ยวงทอง และภาสกร พาเจริญ. (2561). ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ. กรุงเทพฯ: บริษัท โปรวิชั่น จำกัด.
20. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ. (2560). ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์. กรุงเทพฯ: สำนักอินโนเวตีฟ เอ็กเพอริเมนต์ จำกัด.
21. สัญญา มีโพธิ์. (2556). เรียน-เล่น-เป็นง่าย-ประกอบคอมฯ ด้วยตนเอง Retrieved from https://www.mebmarket.com/
22. สันติ นุราช และอุกฤษฏ์ ตันทสุทธานนท์. (2547). เรียนรู้ไมโครคอนโทรลเลอร์ MCS-51 ฉบับภาษา C. กรุงเทพฯ: บริษัท ไมโครรีเซิส์ธเทคโนโลยี จำกัด
23. อทัย สุขสิงห์. (2547). ไมโครโปรเซสเซอร์และไมโครคอนโทรลเลอร์ MCS-51. กรุงเทพฯ: สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น).
24. อาณัติ รัตนถิรกุล. (2556). ก้าวสู่อาชีพดูแลระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ในองค์กร (ภาคปฏิบัติ). กรุงเทพฯ: บริษัทซีเอ็ดยูเคชั้น จำกัด (มหาชน).
25. อุดม จีนประดับ. (2541). ไมโครคอนโทรลเลอร์ MCS-51. กรุงเทพฯ: ศูนย์ผลิตตำรา สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.
26. อุดม จีนประดับ. (2545). การทดลองไมโครคอนโทรลเลอร์ MCS-51. กรุงเทพฯ: ศูนย์ผลิตตำรา สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.
27. แอพซอฟต์เทค. (2547). เริ่มต้นไมโครคอนโทรลเลอร์ MCS-51 ด้วยภาษา C. กรุงเทพฯ: แอพซอฟต์เทค.
28. Arm. (2021). Keil Software. from https://www.keil.com/product/
29. Autodesk. (2021). Tinkercad. from https://www.tinkercad.com/circuits
30. Labcenter Electronics. (2021). PCB Design & Simulation Made Easy by Proteus. from https://www.labcenter.com/downloads/
31. Mazidi, Muhammad Ali, Mazidi, Janice Gillispie และMcKinlay, Rolin D. (2006). The 8051 microcontroller and embedded systems: using Assembly and C.: Pearson/Prentice Hall.
32. NotebookSPEC. (2564). Step to Step ประกอบคอมมือใหม่สไตล์ Old School 2020. from https://notebookspec.com/web/515679-step-by-step-build-pc-2020?fbclid=IwAR3DQFFEmYKkuSjLf5JWRw1dnkUiLYFWSbukPJlqv7RBjsbRpVjVcXiYurA
2. ชินาพัฒน์ สกุลราศรีสวย, ตรี วาทกิจ, ลาภวัต วงศ์ประชา และสมเทพ, อังศุมาลิน. (2018). การเปรียบเทียบประสิทธิภาพระบบควบคุมอุณหภูมิและความชื้นที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของเห็ดในโรงเพาะเห็ด กรณีศึกษา: ฟาร์มเห็ดบ้านเนินสะอาด จังหวัดนครพนม. Journal Of Information Sciences And Technology, 8(2), 46-55.
3. ไชยยันต์ บุญมี และนภัทร วัจนเทพินทร์. (2545). คู่มือการทดลองไมโครโปรเซสเซอร์และอินเตอร์เฟซ. กรุงเทพฯ: บริษัทสกายบุ๊กส์ จำกัด.
4. ดอนสัน ปงผาบ. (2553). ไมโครอคอนโทรลเลอร์และการประยุกต์ใช้งาน 1 (ฉบับปรับปรุง). กรุงเทพฯ: สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น).
5. เดชฤทธิ์ มณีธรรม และสำเริง เด็มราม. (2548). คัมภีร์ไมโครคอนโทรลเลอร์ MCS-51. กรุงเทพฯ: เคทีพี คอมพ์แอนคอนซัลท์.
6. ทีมงานสมาร์ทเลิร์นนิ่ง. (2552). เรียนรู้ไมโครคอนโทรลเลอร์ MCS-51 ด้วยภาษา C พร้อมโครงงาน. กรุงเทพฯ: ห้างหุ้นส่วนสามัญสมาร์ทเลิร์นนิ่ง.
7. ธีรบูลย์ หล่อวิเชียรรุ่ง, นคร ภักดีชาติ และชัยวัฒน์ ลิ้มพรจิตรวิไล. (2541). ปฏิบัติการไมโครคอนโทรลเลอร์ MCS-51 ด้วยโปรแกรมภาษา C. กรุงเทพฯ: บริษัท อินโนเวตีฟ เอ็กเพอริเมนต์ จำกัด.
8. ธีรวัฒน์ ประกอบผล. (2545). การพัฒนาไมโครคอนโทรลเลอร์ด้วยภาษาซี. กรุงเทพฯ: สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น).
9. ธีรวัฒน์ ประกอบผล. (2546). การประยุกต์ใช้งานไมโครคอนโทรลเลอร์. กรุงเทพฯ: สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น).
10. ธีรวัฒน์ ประกอบผล. (2548). ภาษาแอสเซมบลีสำหรับ MCS-51. กรุงเทพฯ: สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น).
11. ธีรวัฒน์ ประกอบผล. (2551). ไมโครโปรเซสเซอร์. กรุงเทพฯ: บริษัท สำนักพิมพ์ท้อป จำกัด.
12. ประจิน พลังสันติกุล และชัยวัฒน์ ลิ้มพรจิตรวิไล. (2550). ไมโครคอนโทรลเลอร์ MCS-51 กับ Keil C51. กรุงเทพฯ: อินโนเวตีฟ เอ็กเพอริเมนต์.
13. ประภาส สุวรรณเพรช. (2547). เอกสารประกอบการสอนวิชาไมโครคอนโทรลเลอร์ (3105-2014) Retrieved from http://www.mediafire.com/file/9i4grjjon6gs5jh/KruPraphasMCS51-Book.pdf
14. พนัส นัถฤทธิ์. (2560). ไมโครคอนโทรลเลอร์และการประยุกต์ใช้งานควบคุมหุ่นยนต์. พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยนเรศวร.
15. พิศาล พิทยาธุรวิวัฒน์. (2556). ติดตั้งระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ Intranet/Internet ฉบับผู้เริ่มต้น. กรุงเทพฯ: บริษัทซีเอ็ดยูเคชั้น จำกัด (มหาชน).
16. มงคล ทองสงคราม. (2536). ไมโครโพรเซสเซอร์ (Z80). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์พรศิวการพิมพ์.
17. มงคล ธุระ. (2541). วงจรไฟฟ้าภาคทฤษฏี. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จิตรวัฒน์.
18. วรพจน์ กรแก้ววัฒนกุล และชัยวัฒน์ ลิ้มพรจิตรวิไล. (2550). เรียนรู้และปฏิบัติการไมโครคอนโทรลเลอร์ MCS-51. กรุงเทพฯ: อินโนเวตีฟ เอ็กเพอริเมนต์.
19. วศิน เพิ่มทรัพย์, ปัทมาภรณ์ พิมพ์หานาม, วิโรจน์ ชัยมูล, สุพรรษา ยวงทอง และภาสกร พาเจริญ. (2561). ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ. กรุงเทพฯ: บริษัท โปรวิชั่น จำกัด.
20. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ. (2560). ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์. กรุงเทพฯ: สำนักอินโนเวตีฟ เอ็กเพอริเมนต์ จำกัด.
21. สัญญา มีโพธิ์. (2556). เรียน-เล่น-เป็นง่าย-ประกอบคอมฯ ด้วยตนเอง Retrieved from https://www.mebmarket.com/
22. สันติ นุราช และอุกฤษฏ์ ตันทสุทธานนท์. (2547). เรียนรู้ไมโครคอนโทรลเลอร์ MCS-51 ฉบับภาษา C. กรุงเทพฯ: บริษัท ไมโครรีเซิส์ธเทคโนโลยี จำกัด
23. อทัย สุขสิงห์. (2547). ไมโครโปรเซสเซอร์และไมโครคอนโทรลเลอร์ MCS-51. กรุงเทพฯ: สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น).
24. อาณัติ รัตนถิรกุล. (2556). ก้าวสู่อาชีพดูแลระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ในองค์กร (ภาคปฏิบัติ). กรุงเทพฯ: บริษัทซีเอ็ดยูเคชั้น จำกัด (มหาชน).
25. อุดม จีนประดับ. (2541). ไมโครคอนโทรลเลอร์ MCS-51. กรุงเทพฯ: ศูนย์ผลิตตำรา สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.
26. อุดม จีนประดับ. (2545). การทดลองไมโครคอนโทรลเลอร์ MCS-51. กรุงเทพฯ: ศูนย์ผลิตตำรา สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.
27. แอพซอฟต์เทค. (2547). เริ่มต้นไมโครคอนโทรลเลอร์ MCS-51 ด้วยภาษา C. กรุงเทพฯ: แอพซอฟต์เทค.
28. Arm. (2021). Keil Software. from https://www.keil.com/product/
29. Autodesk. (2021). Tinkercad. from https://www.tinkercad.com/circuits
30. Labcenter Electronics. (2021). PCB Design & Simulation Made Easy by Proteus. from https://www.labcenter.com/downloads/
31. Mazidi, Muhammad Ali, Mazidi, Janice Gillispie และMcKinlay, Rolin D. (2006). The 8051 microcontroller and embedded systems: using Assembly and C.: Pearson/Prentice Hall.
32. NotebookSPEC. (2564). Step to Step ประกอบคอมมือใหม่สไตล์ Old School 2020. from https://notebookspec.com/web/515679-step-by-step-build-pc-2020?fbclid=IwAR3DQFFEmYKkuSjLf5JWRw1dnkUiLYFWSbukPJlqv7RBjsbRpVjVcXiYurA
1. โปรแกรม Ms.team
2. โปรแกรม Keil
3. โปรแกรม Proteus
5. โปรแกรม Tinkercad
2. โปรแกรม Keil
3. โปรแกรม Proteus
5. โปรแกรม Tinkercad
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน เพื่อสื่อสารเนื้อหาให้ผู้เรียนศึกษาก่อนล่วงหน้า
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา เพื่อนำผลมาปรับปรุงการเรียนการสอน
1.3 ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน (หากมี)
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา ที่มีการสอบเก็บคะแนนแต่ละครั้งนำมาประเมิน
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้ ให้งานตามที่มอบหมายและสังเกตพฤติกรรม
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน เพื่อปรับปรุงและแก้ไขกรณีในห้องเรียนและการเรียนการสอน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์ผู้สอน
4.2 มีการแต่งตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ