กระบวนการทางวิทยาศาสตร์เพื่อทำงานวิจัยและการสร้างนวัตกรรม

Scientific Methods for Research and Innovation

เมื่อนักศึกษาเรียนรายวิชานี้แล้ว นักศึกษามีสมรรถนะที่ต้องการในด้านต่าง ๆ ดังนี้ 1. รู้และเข้าใจเกี่ยวกับนวัตกรรมและเทคโนโลยี 2. รู้และเข้าใจแนวความคิดและการวิเคราะห์ปัญหาการวิจัย 3. รู้และเข้าใจวิธีการทางวิทยาศาสตร์ 4. รู้และเข้าใจเกี่ยวกับคุณภาพของแหล่งข้อมูลงานวิจัย 5. เข้าใจการวิเคราะห์ข้อมูล การรายงานผล และการสรุปผล 6. รู้และเข้าใจการเขียนโครงร่างข้อเสนองานวิจัย 7. รู้และเข้าใจเกี่ยวกับการเผยแพร่ผลงานวิจัย
          ศึกษาและพัฒนาทักษะทางด้านการเก็บรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์และสรุปผล โดยใช้กระบวนการทางด้านวิทยาศาสตร์เพื่อเตรียมความพร้อมให้กับผู้เรียนในการนำทักษะไปประยุกต์ใช้ในการวิจัยหรือสร้างสรรค์นวัตกรรม Study and develop skills in colling, analyzing, and summarizing data using scientific methods for preparing students in applying these skills in research and creative innovation.
จัดให้นักศึกษาพบอาจารย์เพื่อขอคำปรึกษาและแนะนำสัปดาห์ละ 3 ชั่วโมง
1.1 คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา
1.1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม 1.1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ 1.1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และ สิ่งแวดล้อม 1.1.4 เคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1.2.1 การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning) 1.2.2 การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มย่อย (Small - Group Discussion) 1.2.3 การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies) 1.2.4 การสอนแบบบรรยาย
1.3.1 การเขียนบันทึก 1.3.2 โครงการกลุ่ม 1.3.3 การสังเกต 1.3.4 การประเมินโดยเพื่อน
2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฏีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 2.1.2 สามารถติดตามความก้าวหน้า ใฝ่รู้ ทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชา ที่ศึกษา 2.1.3 สามารถบูรณาการความรู้ทางวิชาชีพกับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
2.2.1 กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process) 2.2.2 การเรียนแบบแก้ปัญหา (Problem-solving) 2.2.3 การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning) 2.2.4 การสอนแบบการจัดการเรียนการสอนที่ใช้เทคโนโลยี (Technology - Related Instruction) 2.2.5 การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มใหญ่ (Whole - Class Discussion)
2.2.6 การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มย่อย (Small - Group Discussion) 2.2.7 การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม (Participatory Learning) 2.2.8 การสอนแบบบรรยาย  
2.3.1 โครงการกลุ่ม 2.3.2 การสังเกต 2.3.3 ข้อสอบอัตนัย 2.3.4 ข้อสอบปรนัย
3.1.1 มีทักษะในการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ 3.1.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
3.2.1 กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process) 3.2.2 การเรียนแบบแก้ปัญหา (Problem-solving) 3.2.3 การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning) 3.2.4 การสอนแบบการจัดการเรียนการสอนที่ใช้เทคโนโลยี (Technology - Related Instruction) 3.2.5 การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มใหญ่ (Whole - Class Discussion) 3.2.6 การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มย่อย (Small - Group Discussion) 3.2.7 การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม (Participatory Learning) 3.2.8 การสอนแบบบรรยาย
3.3.1 การสังเกต 3.3.2 การนำเสนองาน 3.3.3 ข้อสอบอัตนัย 3.3.4 ข้อสอบปรนัย
4.1.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี 4.1.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม 4.1.3 สามารถทำงานเป็นทีมและแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 4.1.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
4.2.1 การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มใหญ่ (Whole - Class Discussion) 4.2.2 การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มย่อย (Small - Group Discussion) 4.2.3 การสอนแบบบรรยายเชิงอภิปราย
4.3.1 การสังเกต 4.3.2 การนำเสนองาน
5.1.1 เลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารได้เหมาะสม 5.1.2 สืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม 5.1.3 ใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ ในการสื่อสารได้อย่างถูกต้องตามกาลเทศะและ สอดคล้องกับวัฒนธรรมสากล
5.2.1 การแนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูล 5.2.2 ฝึกฝนเทคนิคการคำนวณและการรายงานผลโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ 5.2.3 การมอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ การนำเสนองานด้วยวิธีโปสเตอร์และวาจา
5.1.1 การสังเกต 5.1.2 การนำเสนองาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตร
รายวิชา (Curriculum Mapping)
ความรับผิดชอบหลัก ความรับผิดชอบรอง

กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ด้านทักษะ ความสัมพันธ์ระหว่าง บุคคลและความ รับผิดชอบ 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning) การสอนแบบการจัดการเรียนการสอนที่ใช้เทคโนโลยี (Technology - Related Instruction) การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มใหญ่ (Whole - Class Discussion) การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มย่อย (Small - Group Discussion) ฝึกฝนเทคนิคการคำนวณและการรายงานผลโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ 1 GEBSC303 กระบวนการทางวิทยาศาสตร์เพื่อทำงานวิจัยและการสร้างนวัตกรรม          

 
 
 
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา ความรู้ ด้านคุณธรรมจริยธรรม ทักษะทางปัญญา ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา บรรยายครอบคลุมเนื้อหาตามคำอธิบายรายวิชา เปิดโอกาสให้นักศึกษามีการตั้งคำถามหรือตอบคำถาม หรือแสดงความคิดเห็นที่เกี่ยวข้องกับวิชาการ 2. มอบหมายให้ค้นหาข้อมูลเพิ่มเติม หรือศึกษาด้วยตนเอง 3.กำหนดหัวข้อทางวิชาการให้กับนักศึกษาในการค้นคว้าความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีใหม่ๆ 1. ให้ความสำคัญในวินัย การตรงต่อเวลา การส่งงานในเวลาที่กำหนด 2. กำหนดข้อตกลงร่วมกันในการวัดผลระหว่างผู้เรียนและผู้สอน 1. ฝึกทักษะ ตามหัวข้อทางวิชาการให้นักศึกษาได้ปฏิบัติ 2. อธิบายความเชื่อมโยงของความรู้ในวิชาที่ศึกษากับศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง โดยระดมความคิดของนักศึกษาในชั้นเรียน 3. มอบหมายงานให้นักศึกษา ทำแบบฝึกหัด และนำเสนองานหน้าชั้นเรียน 2. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มใหญ่ (Whole - Class Discussion) การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มย่อย (Small - Group Discussion) ฝึกทักษะ ตามหัวข้อทางวิชาการให้นักศึกษาได้ปฏิบัติ 2. อธิบายความเชื่อมโยงของความรู้ในวิชาที่ศึกษากับศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง โดยระดมความคิดของนักศึกษาในชั้นเรียน 3. มอบหมายงานให้นักศึกษา ทำแบบฝึกหัด และนำเสนองานหน้าชั้นเรียน ฝึกฝนเทคนิคการคำนวณและการรายงานผลโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ -
1 GEBSC303 กระบวนการทางวิทยาศาสตร์เพื่อทำงานวิจัยและการสร้างนวัตกรรม
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1-8 การประเมินพฤติกรรมด้านคุณธรรมและจริยธรรม และความรับผิดชอบ 1-16 10
2 1.1-5.2 สอบกลางภาค 8 30
3 1-8 งานมอบหมายและรายงานการทดลอง 1-16 20
4 5.3-8.5 สอบปลายภาค 17 30
5 1-8 การประเมินด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบในการทำงานกลุ่ม 1-16 5
6 1-8 ความตรงต่อเวลา และการเข้าร่วมชั้นเรียน 1-16 5
เอกสาร Power point ประจำบทเรียนต่าง ๆ
         ให้นักศึกษาทุกคนประเมินประสิทธิผลของรายวิชาซึ่งรวมถึง วิธีการสอน การจัดกิจกรรมในห้องเรียน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน ซึ่งมีผลกระทบต่อการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ที่ได้รับ และเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงรายวิชาด้วยระบบคอมพิวเตอร์ของมหาวิทยาลัย
การประเมินการสอนโดยคณะกรรมการประเมินการสอนที่แต่งตั้งโดยกลุ่มวิชา จากการสังเกตขณะสอน และการสัมภาษณ์ตัวแทนนักศึกษา
         แผนกวิชากำหนดให้อาจารย์ผู้สอนทบทวนและปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอนจากผลการประเมินประสิทธิผลของรายวิชา มีการประชุมอาจารย์ในแผนกวิชาเพื่อหารือปัญหาการเรียนรู้ของนักศึกษาและร่วมกันหาแนวทางแก้ไข เช่น นำระบบ Google form หรือ MS Team ใช้ในการเก็บข้อมูลงานมอบหมายของนักศึกษา รวมถึงแบบฝึกหัดประจำบท นำงานวิจัยของอาจารย์ผู้สอนมาเป็นสื่อการเรียนการสอนในส่วนที่เกี่ยวข้องกับบทเรียน เพื่อให้นักศึกษาสามารถเข้าใจถึงการนำพื้นฐานคาวมรู้ทางเคมีไปใช้งานจริง
         กลุ่มวิชามีคณะกรรมการประเมินการสอนทำหน้าที่ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชาโดยการสุ่มประเมินข้อสอบและความเหมาะสมของการให้คะแนนของรายวิชาทั้งหมดในความรับผิดชอบของกลุ่มวิชาภายในรอบเวลาหลักสูตร
      กลุ่มวิชามีระบบการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา โดนพิจารณาจากผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษา ผลการประเมินโดยคณะกรรมการประเมินการสอนของแผนกวิชา การรายงานรายวิชาโดยอาจารย์ผู้สอน หลังการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา อาจารย์ผู้สอนรับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาที่สอนและกลยุทธ์การสอนที่ใช้ และนำเสนอแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาในรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา เสนอต่อหัวหน้ากลุ่มวิชา เพื่อนำเข้าที่ประชุมอาจารย์ประจำหลักสูตรพิจารณาให้ความคิดเห็นและสรุปวางแผนพัฒนาปรับปรุงสำหรับใช้ในปีการศึกษาถัดไป