การบริหารงานคุณภาพในองค์การ

Quality Administration in Organization

การให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพในองค์กร เพื่อให้ผู้เรียนสามารถนำหลักการและเครื่องมือต่างๆ ไปประยุกต์ใช้ในการปรับปรุงคุณภาพของผลิตภัณฑ์ บริการ และกระบวนการต่างๆ การสร้างวัฒนธรรมองค์กรที่มุ่งเน้นคุณภาพ และการสร้างความพึงพอใจให้กับลูกค้า การพัฒนาทักษะการแก้ปัญหา การทำงานเป็นทีม และการตัดสินใจที่เกี่ยวข้องกับการบริหารคุณภาพ
1. เพื่อให้เข้าใจเกี่ยวกับการจัดการองค์การ หลักการบริหารงานคุณภาพและเพิ่มผลผลิต หลักการเพิ่มประสิทธิภาพการทำงาน และประยุกต์ใช้ในการจัดการงานอาชีพ
2. เพื่อให้มีความสามารถวางแผนการจัดการงานอาชีพ โดยประยุกต์ใช้หลักการจัดองค์การ การเพิ่มประสิทธิภาพขององค์การ และกิจกรรมการบริหารงานคุณภาพและเพิ่มผลผลิต
3. มีเจตคติและกิจนิสัยที่ดีในการจัดการงานอาชีพด้วยความรับผิดชอบ รอบคอบ มีวินัย ขยัน ประหยัด อดทนและสามารถทาำงานร่วมกัน
ศึกษาเกี่ยวกับการจัดองค์การ การเพิ่มประสิทธิภาพขององค์การ การบริหารงานคุณภาพและเพิ่มผลผลิต การจัดการความเสี่ยง การจัดการความขัดแย้งในองค์การ กลยุทธ์การเพิ่มประสิทธิภาพการทำงาน การนำกิจกรรมระบบคุณภาพและเพิ่มผลผลิตมาประยุต์ใชในการจัด การงานอาชีพ

 
3 ชั่วโมง/สัปดาห์
1. มีความขยัน หมั่นเพียร ตั้งใจเรียน มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี 2. มีความซื่อสัตย์ พูดจาสุภาพ 3. ทำตนให้เป็นประโยชน์ต่อตนเองและผู้อื่น ไม่เห็นแก่ตัว ยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น 4. กล้าแสดงความคิดเห็น 5. มีน้ำใจกับเพื่อนร่วมห้อง และมีความสามัคคีในหมู่คณะ

 
แจ้งเนื้อหา จุดประสงค์การเรียน และอภิปรายถึงเนื้อหา สาระการเรียนรู้ร่วมกับนักศึกษา ตามเนื้อหาการเรียนรู้หน่วยการเรียน ตกลงหลักเกณฑ์การวัดผล และการให้คะแนนในส่วนต่าง ๆ ร่วมกัน ให้นักศึกษาค้นคว้าตามขั้นตอนที่กำหนดและหรือการทำรายงาน และหรือเขียนรายงานสรุปผลการเรียนรู้

 
1. คะแนนคุณธรรมจริยธรรม 2. คะแนนระหวา่งเรียน ได้แก่คะแนนทดสอบก่อนเรียน – หลังเรียน คะแนนทดสอบย่อย และ คะแนนการปฎิบัติงาน 3. คะแนนวัดผลสัมฤทธิ์

 
เนื้อหาสาระการเรียนรู้ การสืบค้นเอกสารอ้างอิง การเขียนรายงาน การนำเสนอ และการศึกษาค้นคว้า เพิ่มเติมจากสื่อหรือแหล่งการเรียนรู้
อธิบาย บทเรียน ขั้นตอนหรือกิจกรรมการเขียนรายงาน ภารกิจ สรุปสาระสำคัญของบทเรียน ตอบคำถามเพื่อการทบทวน และการนำเสนอ
เอกสารการสืบค้นข้อมูล ผลการปฏิบัติงาน การมีส่วนร่วมในกิจกรรม การมีส่วนร่วมในการซักถาม ตอบคำถาม การมีส่วนร่วมในการอภิปราย สังเกตจากการทางานกลุ่ม การประเมินตนเอง และการเขียนรายงานตนเอง 
การฝึกทบทวนเนื้อหาโครงการที่ผ่านมา และการค้นคว้า เพิ่มเติมจากสื่อหรือแหล่งการเรียนรู้
อธิบายบทเรียน ขั้นตอนหรือกิจกรรมการเขียนรายงาน ภารกิจ สรุปสาระสาคัญของบทเรียน ตอบคำถามเพื่อการทบทวน นำเสนอผลงานความก้าวหน้า
เอกสารการสืบค้นข้อมูล ผลการปฏิบตั ิงาน การมีส่วนร่วมในกิจกรรม การมีส่วนร่วมในการซกั ถาม ตอบคาถาม การมีส่วนร่วมในการอภิปราย สังเกตจากการทางานกลุ่ม การ ประเมินตนเอง และการเขียนรายงานตนเอง (Self-Report)
การมอบหมายงานในชั้นเรียนแบ่งกลุ่ม ๆ ละ 3-5 คน ออกมาอภิปรายและสรุปผลงานร่วมกัน หน้าชั้นเรียน แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ศิลปวัฒธรรม ประสบการณ์ ข่าวสารในท้องถิ่นจากสื่อต่าง ๆ และช่วยกันทำความสะอาดห้องเรียน

 
อธิบาย บทเรียน ขั้นตอนหรือกิจกรรมการเขียนรายงาน ภารกิจ สรุปสาระสำคัญของบทเรียน ตอบคำถามเพื่อการทบทวน และการนำเสนอ

 
เอกสารการสืบค้นข้อมูล ผลการปฏิบัติงาน การมีส่วนร่วมในกิจกรรม การมีส่วนร่วมในการซัก ถาม ตอบคาถาม การมีส่วนร่วมในการอภิปราย สังเกตจากการทางานกลุ่ม การประเมินตนเอง และการเขียนรายงานตนเอง (Self-Report)

 
สื่อสิ่งพิมพ์ ได้แก่ หนังสือประกอบการเรียนการสอน Power Point แบบฟอร์มการแนะนำ ตนเองของนักศึกษา แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมและคุณลักษณะอันพึงประสงค์

 
อธิบาย บทเรียน ขั้นตอนหรือกิจกรรม ภารกิจ สรุปสาระสำคัญของบทเรียนตอบคำถามเพื่อการทบทวน และการนำเสนอ

 
เอกสารการสืบค้นข้อมูล ผลการปฏิบัติงาน การมีส่วนร่วมในกิจกรรม การมีส่วนร่วมในการซัก ถาม ตอบคำถาม การมีส่วนร่วมในการอภิปราย สังเกตจากการทางานกลุ่ม การประเมินตนเอง และการเขียนรายงานตนเอง (Self-Report)

 
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
ไม่มีข้อมูล
ทวี มณีสาย. การบริหารงานคุณภาพในองค์การ. กรุงเทพฯ : จิตรวัฒน์, 2563.

 
ธนวรรธ ตั้สินทรัพย์ศิริ. การจัดการสมัยใหม่. กรุงเทพ : สำนักพิมพ์เสมาธรรม, ม.ป.ป. ยุทธ ไกยวรรณ์. การบริหารคุณภาพในโรงงานอุตสาหกรรม. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์สุวีริยาสาสน์. สมยศ นาวรการ. ทฤษฏีองค์การ. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์บรรณกิจ 1991 จำกัด , ม.ป.ป. ทิพวรรณ หล่อสุวรรณรัตน์. ทฤษฏีองค์การสมัยใหม่. กรุงเทพฯ : แชทโฟร์พริ้นติ้ง, กิตติพันธ์ คงสวัสดิ์เกียรติ. การบริหารความเสี่ยงอย่างมืออาชีพ. พิมพค์รั้งที่ 2 กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์เมคกรอฮิล,

 
www.bloggang.com/viewdiray.php
 
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน โดยการใช้ผลการเรียนของนักศึกษาและแบบประเมินความพอใจผู้สอน
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน โดยการอบรมสัมมนาการจัดการเรียนการสอน
การทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในรายวิชา โดยการแต่งตั้งกรรมการผู้รับผิดชอบ กรรมการบริหารหลักสูตร และกรรมการสาขาวิชาในสาขาวิชา เป็นผู้ดำเนินการ ดังนี้ 4.1 การประเมินตามผลลัพธ์การเรียนรู้ โดยนักศึกษา 4.2 การประเมินการสอน โดยนักศึกษา (ประเมินผ่านระบบของมหาวิทยาลัย) 4.3 การวิเคราะห์ความสอดคล้อง/เกณฑ์การประเมิน ตาม มคอ. 3/ มคอ. 5 โดยคณะกรรมการทวนสอบ 4.4 การประเมินข้อสอบ การปฏิบัติงาน และรายงานโครงการ การให้คะแนน ที่มาของเกรด โดยอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร หรือสาขาวิชา
จากผลการประเมิน และการทวนสอบผลสัมฤทธิ์รายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้ 5.1 รายงานผลการทวนสอบฯ ต่อคณะกรรมการผู้รับผิดชอบหลักสูตร/สาขาวิชา 5.2 นำผลการทวนสอบฯ ไปรายงานใน มคอ.5 และจัดทำแผนปรับปรุง มคอ.3 ในครั้งต่อไป โดยอาจารย์ผู้สอน 5.3 นำผลการทวนสอบไปปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตร โดยหัวหน้าหลักสูตร