อินเทอร์เน็ตเพื่อสรรพสิ่ง
Internet of Things
เพื่อให้นักศึกษาได้เข้าใจและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับสถาปัตยกรรมของระบบฝังตัว วิวัฒนาการพัฒนาของโครโปรเซสเซอร์ ไมโครคอนโทรลเลอร์ หน่วยความจำ อินพุต เอาต์พุต และอุปกรณ์รอบข้าง การเขียนโปรแกรมภาษาแบบฝังตัวในการควบคุมอุปกรณ์
พัฒนารายวิชาเพื่อให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานการประกันคุณภาพการศึกษาและพัฒนาผู้เรียน
ให้ครบทั้งด้านคุณธรรม จริยธรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความ
รับผิดชอบ ทักษะการใช้งานอินเทอร์เน็ตเพื่อสรรพสิ่ง รวมทั้งการประยุกต์ใช้ในรายวิชา
ให้ครบทั้งด้านคุณธรรม จริยธรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความ
รับผิดชอบ ทักษะการใช้งานอินเทอร์เน็ตเพื่อสรรพสิ่ง รวมทั้งการประยุกต์ใช้ในรายวิชา
ศึกษาเกี่ยวกับสถาปัตยกรรมของอินเทอร์เน็ทเพื่อสรรพสิ่ง วิวัฒนาการพัฒนาของโครโปรเซสเซอร์ ไมโครคอนโทรลเลอร์ หน่วยความจำ อินพุต เอาต์พุต และอุปกรณ์รอบข้าง ฝึกปฏิบัติการเขียนโปรแกรมภาษาแบบฝังตัวในการควบคุมอุปกรณ์ อินเตอร์รัพต์ และเรียนรู้การประยุกต์ใช้งานอินเทอร์เน็ทเพื่อสรรพสิ่ง
- อาจารย์ประจำรายวิชา ประกาศเวลาให้คำปรึกษาแก่นักศึกษา
- อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1ชั่วโมง/สัปดาห์
(เฉพาะรายที่ต้องการ)
- อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1ชั่วโมง/สัปดาห์
(เฉพาะรายที่ต้องการ)
1) ตระหนักถึงคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรมในวิชาชีพ มีความซื่อสัตย์สุจริต มีความรับผิดชอบ
ตรงต่อเวลา รู้จักกาลเทศะและมีระเบียบวินัย
2) เห็นคุณค่าของการเรียนรู้ อดทนขยันหมั่นเพียรและมีความกระตือรือร้นในการแสวงหาความรู้
3) มีความเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี รับฝังความคิดเห็นผู้อื่นในการทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไข ข้อขัดแย้ง ปฏิบัติตนตามกฏระเบียบของหน่วยงานและสังคม
ตรงต่อเวลา รู้จักกาลเทศะและมีระเบียบวินัย
2) เห็นคุณค่าของการเรียนรู้ อดทนขยันหมั่นเพียรและมีความกระตือรือร้นในการแสวงหาความรู้
3) มีความเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี รับฝังความคิดเห็นผู้อื่นในการทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไข ข้อขัดแย้ง ปฏิบัติตนตามกฏระเบียบของหน่วยงานและสังคม
1) บรรยายพร้อมยกตัวอย่าง ประเด็นคุณธรรมและจริยธรรมที่เกี่ยวกับวิชาชีพ มีความซื่อสัตย์สุจริต มีความรับผิดชอบ เข้าเรียนและส่งงานตรงเวลา รู้จักกาลเทศะและมีระเบียบวินัย
2) บรรยายให้เห็นคุณค่าของการเรียนรู้ ยกตัวอย่างความขยันหมั่นเพียรและผลของการกระทำ
3) กำหนดให้นักศึกษาหาตัวอย่างที่เกี่ยวข้องและอภิปรายกลุ่ม ร่วมแสดงความคิดเห็น
2) บรรยายให้เห็นคุณค่าของการเรียนรู้ ยกตัวอย่างความขยันหมั่นเพียรและผลของการกระทำ
3) กำหนดให้นักศึกษาหาตัวอย่างที่เกี่ยวข้องและอภิปรายกลุ่ม ร่วมแสดงความคิดเห็น
1) สังเกตจากพฤติกรรมที่แสดงออกจากการเรียนในชั้นเรียน การเข้าเรียน การส่งงาน การแสดงพฤติกรรมต่ออาจารย์และผู้อื่น
2) สังเกตจากพฤติกรรมการเรียน ความขยันหมั่นเพียร
3) ประเมินผลการอภิปรายกลุ่ม การแสดงความคิดเห็น การรับฝังความคิดเห็นจากผู้อื่น
2) สังเกตจากพฤติกรรมการเรียน ความขยันหมั่นเพียร
3) ประเมินผลการอภิปรายกลุ่ม การแสดงความคิดเห็น การรับฝังความคิดเห็นจากผู้อื่น
มีความรู้ในเรื่องกลุ่มของไมโครคอนโทรลเลอร์ตระกูลต่าง ๆ หน่วยความจําแบบเก็บโปรแกรมหรือคําสั่งและข้อมูล รีจีสเตอร์และการอ้างแอดเดรส ภาษาแอสแซมบลี้ การออกแบบซอฟต์แวร์และการเชื่อมโยงกับภายนอก การขยายไมโครคอนโทรลเลอร์ การประยุกต์ ใช้งานไมโครคอนโทรเลอร์ในระบบควบคุมทั้งแบบ 8 และ 16 บิท ปฏิบัติและสร้างชิ้นงานเกี่ยวข้องกับรายวิชาที่ศึกษา
ใช้การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสําคัญ ได้แก่ การสอนบรรยายร่วมกับการสื่อสารสองทาง โดยเน้นให้นักศึกษาค้นคว้าหาความรู้และข้อมูลเพิ่มเติม การสอนโดยการฝึกปฏิบัติจริงกับอุปกรณ์และเครื่องมือ เกี่ยวกับไมโครคอนโทรลเลอร์ การสอนแบบศึกษาด้วยตนเอง การค้นคว้าจากหนังสือ ตำรา บทความและทางอินเตอร์เน็ต
1) ประเมินผลจากการทดสอบย่อย การสอบกลางภาค และการสอบปลายภาค
2) ประเมินจากการปฏิบัติตามกิจกรรมที่จัดให้ ตามใบงาน
3) ประเมินจากชิ้นงานเกี่ยวข้องกับรายวิชาที่นักศึกษาสร้าง
2) ประเมินจากการปฏิบัติตามกิจกรรมที่จัดให้ ตามใบงาน
3) ประเมินจากชิ้นงานเกี่ยวข้องกับรายวิชาที่นักศึกษาสร้าง
1) พัฒนาการคิดอย่างเป็นระบบและมีวิจารณญาณ
2) สามารถคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์และประเมินค่า
3) เข้าใจถึงสาเหตุของปัญหาและหาวิธีการแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
4) พัฒนาการเรียนรู้เพื่อสร้างองค์ความรู้ได้ด้วยตนเอง
5) พัฒนาองค์ความรู้เพื่อออกแบบนวัตกรรมหรือกระบวนการทำงานที่เหมาะสม
2) สามารถคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์และประเมินค่า
3) เข้าใจถึงสาเหตุของปัญหาและหาวิธีการแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
4) พัฒนาการเรียนรู้เพื่อสร้างองค์ความรู้ได้ด้วยตนเอง
5) พัฒนาองค์ความรู้เพื่อออกแบบนวัตกรรมหรือกระบวนการทำงานที่เหมาะสม
1) จัดกิจกรรมการเรียนการสอนด้วยกระบวนการคิดเพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ด้วยเหตุผล และมีวิจารณญาณ ประเมินค่า เช่น อภิปรายกลุ่ม ฝึกแก้ปัญหาเป็นกลุ่ม จัดสถานการณ์จำลองให้ผู้เรียนฝึกตัดสินใจ เป็นต้น
2) จัดการเรียนรู้ด้วยการปฏิบัติ แนวทางและวิธีการแก้ไขปัญหา
3) จัดองค์ความรู้ การเรียนรู้ การออกแบบและสร้างนวัตกรรมหรือสร้างกระบวนการทำงาน
2) จัดการเรียนรู้ด้วยการปฏิบัติ แนวทางและวิธีการแก้ไขปัญหา
3) จัดองค์ความรู้ การเรียนรู้ การออกแบบและสร้างนวัตกรรมหรือสร้างกระบวนการทำงาน
1) ประเมินด้วยการสังเกตพฤติกรรมทางปัญญาของผู้เรียนตั้งแต่ ขั้นสังเกตุตั้งคำถาม สืบค้น คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์และประเมินค่า
2) ประเมินด้วยการตรวจผลการปฏิบัติ ผลการแก้ไขปัญหา ผลจากการสอบถามวิธีการแก้ไขปัญหา
3) ประเมินด้วยผลงานการสร้างนวัตกรรม ผลการสร้างกระบวนการทำงาน การสัมภาษณ์
2) ประเมินด้วยการตรวจผลการปฏิบัติ ผลการแก้ไขปัญหา ผลจากการสอบถามวิธีการแก้ไขปัญหา
3) ประเมินด้วยผลงานการสร้างนวัตกรรม ผลการสร้างกระบวนการทำงาน การสัมภาษณ์
1) พัฒนาการทำงานเป็นทีมและสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
2) พัฒนาทักษะความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม
3) มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย
4) สามารถปรับตัวในการทำงานและการดำรงชีวิตร่วมกับบุคคลอื่นได้
5) สามารถวางตัวและแสดงความคิดเห็นได้เหมาะสมกับบทบาทหน้าที่ ความรับผิดชอบ
6) ตระหนักถึงความปลอดภัยของตนเองและผู้อื่น ในการปฏิบัติงาน
2) พัฒนาทักษะความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม
3) มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย
4) สามารถปรับตัวในการทำงานและการดำรงชีวิตร่วมกับบุคคลอื่นได้
5) สามารถวางตัวและแสดงความคิดเห็นได้เหมาะสมกับบทบาทหน้าที่ ความรับผิดชอบ
6) ตระหนักถึงความปลอดภัยของตนเองและผู้อื่น ในการปฏิบัติงาน
1) จัดกิจกรรมการเรียนรู้ การทำงานเป็นทีมหรือร่วมกับผู้อื่น เพื่อฝึกความรับผิดชอบ ทักษะความเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดีมีทักษะการสร้างมนุษยสัมพันธ์ปรับตัวและยอมรับความแตกต่างของคนในสังคม เพื่อให้งานที่รับผิดชอบสำเร็จ
2) จัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ปรับตัว และวางตัวให้เหมาะสมกับหน้าที่ ความรับผิดชอบ มีปฏิสัมพันธ์กับเพื่อน เช่น ทำงานกลุ่ม การแสดงบทบาทสมมุติร่วมกัน เป็นต้น
3) จัดกิจกรรมการเรียนรู้แสดงถึงความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน
2) จัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ปรับตัว และวางตัวให้เหมาะสมกับหน้าที่ ความรับผิดชอบ มีปฏิสัมพันธ์กับเพื่อน เช่น ทำงานกลุ่ม การแสดงบทบาทสมมุติร่วมกัน เป็นต้น
3) จัดกิจกรรมการเรียนรู้แสดงถึงความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน
1) สังเกตการร่วมกิจกรรม ทำงานเป็นทีม ของผู้เรียน
2) สอบถามเพื่นร่วมทีมเพื่อวัดความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ สำหรับให้ผู้เรียนประเมินผลตนเองและประเมินเพื่อน
3) ตรวจสอบขณะปฏิบัติงาน ความปลอดภัยในการปฏิบัติของผู้ปฏิบัติ
2) สอบถามเพื่นร่วมทีมเพื่อวัดความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ สำหรับให้ผู้เรียนประเมินผลตนเองและประเมินเพื่อน
3) ตรวจสอบขณะปฏิบัติงาน ความปลอดภัยในการปฏิบัติของผู้ปฏิบัติ
1) พัฒนาทักษะด้านการสื่อสารและการสืบค้นข้อมูลโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
2) พัฒนาทักษะการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงตัวเลข เชิงปริมาณ หลักสถิติ สำหรับการแก้ไขปัญหา
3) พัฒนาทักษะด้านการสื่อสารทั้งการฟัง การพูด การเขียน การอ่านและตีความ โดยจัดทำเป็นรายงานและนำเสนอในชั้นเรียนเป็นภาษาไทยหรือภาษาอังกฤษหรือภาษาต่างประเทศอื่นๆ
2) พัฒนาทักษะการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงตัวเลข เชิงปริมาณ หลักสถิติ สำหรับการแก้ไขปัญหา
3) พัฒนาทักษะด้านการสื่อสารทั้งการฟัง การพูด การเขียน การอ่านและตีความ โดยจัดทำเป็นรายงานและนำเสนอในชั้นเรียนเป็นภาษาไทยหรือภาษาอังกฤษหรือภาษาต่างประเทศอื่นๆ
1) จัดกิจกรรมการเรียนการสอนพัฒนาด้านการสื่อสาร และการใช้สารสนเทศในการสืบค้นข้อมูล
2) จัดกิจกรรมการเรียนการสอนด้านการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงตัวเลข เชิงปริมาณ การใช้ค่าสถิติ สำหรับการแก้ไขปัญหา พร้อมยกตัวอย่างการ
3) กำหนดให้นักศึกษานำเสนอผลงาน โดยใช้รูปแบบ เครื่องมือและเทคโนโลยีที่เหมาะสม ให้เพื่อนร่วมห้องสอบถาม แลกเปลี่ยนความรู้
2) จัดกิจกรรมการเรียนการสอนด้านการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงตัวเลข เชิงปริมาณ การใช้ค่าสถิติ สำหรับการแก้ไขปัญหา พร้อมยกตัวอย่างการ
3) กำหนดให้นักศึกษานำเสนอผลงาน โดยใช้รูปแบบ เครื่องมือและเทคโนโลยีที่เหมาะสม ให้เพื่อนร่วมห้องสอบถาม แลกเปลี่ยนความรู้
1) ประเมินผลจากการให้ผู้เรียนนำเสนอผลการสืบค้นข้อมูลที่ได้
2) ให้ผู้เรียนนำเสนอผลการใช้สถิติในการแก้ไขปัญหา
3) สังเกตมการนำเสนอผลงานโดยใช้ เครื่องมือ เทคโนโลยี เพื่อนร่วมห้องแลกเปลี่ยนความรู้
2) ให้ผู้เรียนนำเสนอผลการใช้สถิติในการแก้ไขปัญหา
3) สังเกตมการนำเสนอผลงานโดยใช้ เครื่องมือ เทคโนโลยี เพื่อนร่วมห้องแลกเปลี่ยนความรู้
1. การวัดผล
ค้นคว้ารายงาน 20 %
สอบย่อย 10 %
สอบกลางภาค 20 %
จิตพิสัย 20 %
สอบปลายภาค 30 %
รวม 100 %
2. การประเมินผลการเรียน
การตัดสินผลการเรียนโดยวิธี อิงเกณฑ์
คะแนนระหว่าง 80 - 100 ได้ระดับ A
คะแนนระหว่าง 75 - 80 ได้ระดับ B+
คะแนนระหว่าง 70 - 74 ได้ระดับ B
คะแนนระหว่าง 65 - 69 ได้ระดับ C+
คะแนนระหว่าง 60 - 64 ได้ระดับ C
คะแนนระหว่าง 55 - 59 ได้ระดับ D+
คะแนนระหว่าง 50 - 54 ได้ระดับ D
คะแนนระหว่าง 0 - 49 ได้ระดับ F
ค้นคว้ารายงาน 20 %
สอบย่อย 10 %
สอบกลางภาค 20 %
จิตพิสัย 20 %
สอบปลายภาค 30 %
รวม 100 %
2. การประเมินผลการเรียน
การตัดสินผลการเรียนโดยวิธี อิงเกณฑ์
คะแนนระหว่าง 80 - 100 ได้ระดับ A
คะแนนระหว่าง 75 - 80 ได้ระดับ B+
คะแนนระหว่าง 70 - 74 ได้ระดับ B
คะแนนระหว่าง 65 - 69 ได้ระดับ C+
คะแนนระหว่าง 60 - 64 ได้ระดับ C
คะแนนระหว่าง 55 - 59 ได้ระดับ D+
คะแนนระหว่าง 50 - 54 ได้ระดับ D
คะแนนระหว่าง 0 - 49 ได้ระดับ F
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล | ไม่มีข้อมูล |
---|