การวางแผนภาษีอากร

Tax Planning

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้เกี่ยวกับความแตกต่างระหว่างการวางแผนภาษี การหนีภาษีและการหลบหลีกภาษี เพื่อให้นักศึกษามีความรู้เกี่ยวกับวิธีการวางแผนภาษีเงินได้บุคคลธรรมหา ภาษีเงินได้นิติบุคคล ภาษีหัก ณ ที่จ่าย และภาษีมูลค่าเพิ่ม เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจหลักเกณฑ์ในการเสียภาษีอย่างประหยัดภายใต้กรอบของกฎหมาย เพื่อให้นักศึกษาฝึกการคิด วิเคราะห์ เกี่ยวกับการวางแผนภาษี
ศึกษาหลักการวางแผนภาษีอากร  ข้อแตกต่างระหว่างการวางแผนภาษีกับการหนีภาษีและการหลบหลีกภาษี  ศึกษาวิธีการประหยัดภาษีโดยถูกต้องตามกรอบของกฎหมายไม่ขัดต่อจริยธรรมและมีความรับผิดชอบต่อสังคม
7
คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา 1.1.1 มีความรู้ และความเข้าใจในหลักจริยธรรมพื้นฐานทางวิชาชีพบัญชี 1.1.2 สามารถประยุกต์หลักจริยธรรมพื้นฐานทางวิชาชีพในการแก้ไขปัญหาในทาง ปฏิบัติได้อย่างเหมาะสม 1.1.3 แสดงออกถึงความเป็นคนซื่อสัตย์ สุจริต เที่ยงธรรม ระมัดระวังรอบคอบในการ ทํางานและมีความรับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพ และสังคม
กำหนดข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียน ได้แก่ ระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับการเรียน การเข้าชั้นเรียน การสอบ การทำงานที่ได้รับมอบหมาย การทำโจทย์ปัญหา และการแต่งกายตามระเบียบของมหาวิทยาลัยฯ การพูดเรื่องจรรยาบรรณผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี  
- การพูดคุยโต้ตอบระหว่างนักศึกษาและผู้สอน  - ประเมินจากผลงานของนักศึกษาที่ได้รับมอบหมายงาน - ติดตามการปฎิบัติตามข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนสัปดาห์ละ 1 ครั้ง และให้คะแนน 10%
 
2.1.1 มีความรู้ ความเข้าใจ และมีทักษะการปฏิบัติดงานการบัญชี เพียงพอที่จะประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงาน 2.1.2 มีความรู้ ความเข้าใจ ในศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้องเพียงพอที่จะประยุกต์ใช้ในการ ปฏิบัติงาน 2.1.3 มีความรู้และความเข้าใจในการจัดทําและนําเสนอสารสนเทศทางบัญชีที่เป็น ประโยชน์ต่อผู้ใช้  2.1.4 มีความสามารถในการประยุกต์หลักคณิตศาสตร์และสถิติในการประกอบวิชาชีพ บัญชี
- บรรยาย โดยการใช้ MS Power Point หนังสือ บทความวิชาการ และตำราอื่นๆ
- พูดคุย โต้ตอบ
- ทำแบบฝึกหัดและกรณีศึกษาร่วมกัน
- ให้นักศึกษา Self-study 
- มอบหมายให้นักศึกษาค้นคว้าข้อมูลเพื่อการวางแผนทางภาษีอากร และศึกษาวิธีการปฏิบัติและวิธีการคำนวณ การใช้สิทธิประโยชน์ทางภาษีอากรที่เกี่ยวข้องกับ บุคคลธรรมดา และนิติบุคคล
 
 
การตอบคำถามในชั้นเรียน การสอบกลางภาค การสอบปลายภาค
3.1.1 มีทักษะการปฏิบัติทางวิชาชีพ การประยุกต์ใช้เหตุผลในการแก้ไขปัญหาด้วย วิธีการที่ถูกต้องและเหมาะสม 3.1.2 มีความสามารถในการสืบค้นและวิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีการที่ถูกต้องและ เหมาะสม 3.1.3 มีความสามารถในการเรียนรู้และติดตามการเปลี่ยนแปลงทางวิชาชีพบัญชีและ ศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง และรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของสังคมและของโลก 2.3.4 มีความสามารถในการใช้ดุลยพินิจในการปฏิบัติงานทางบัญชีในเรื่องที่มี ความสําคัญต่อองค์กร และสามารถแสดงความคิดเห็นหรือเสนอแนวทางการ แก้ไขปัญหา
- บรรยาย  - พูดคุย โต้ตอบ และฝึกปฏิบัติสืบค้นกฎหมายภาษีอากรที่เกี่ยวข้อง อัพเดทหลักปฎิบัติใหม่ทั้งบัญชีและภาษีอากรที่เกี่ยวข้องกับบุคคลธรรมดาและนิติบุคคล - มอบหมายรายงานให้นักศึกษา - ให้นักศึกษา Self-study 
- มอบหมายให้นักศึกษาค้นคว้าข้อมูลเพื่อการวางแผนทางภาษีอากร และศึกษาวิธีการปฏิบัติและวิธีการคำนวณ การใช้สิทธิประโยชน์ทางภาษีอากรที่เกี่ยวข้องกับบุคคลธรรมดา และนิติบุคคล
 
- ให้นักศึกษาเขียนตอบและตอบปากเปล่า
- การพูดคุยโต้ตอบระหว่างนักศึกษาและผู้สอน 
- ประเมินจากผลงานของนักศึกษาที่ได้รับมอบหมายงาน
 
4.1.1 มีความอดทน ความรับผิดชอบ ทักษะทางสังคม และจิตสาธารณะ สามารถ ปรับตัวให้เข้ากับสถานการณ์ต่าง ๆ วัฒนธรรมองค์ และการทํางานร่วมกับ ผู้อื่น 4.1.2 มีหลักคิดและวิธีการปฏิบัติงานอย่างเป็นระบบ สามารถทํางานให้สําเร็จ ตาม เป้าหมายภายในระยะเวลาที่กําหนดอย่างมีประสิทธิภาพ 4.1.3 มีความคิดสร้างสรรค์ เพื่อการพัฒนาวิชาชีพการบัญชี
- บรรยาย โดยการใช้ MS Power Point หนังสือ บทความวิชาการ และตำราอื่นๆ - มอบหมายให้ทำงานร่วมกันเป็นกลุ่มใน case study เดียวกัน - พูดคุย โต้ตอบ - ให้นักศึกษา Self-study 
คุณภาพของรายงานที่ได้รับมอบหมายรายกลุ่มและประเมินคะแนนเป็นรายบุคคล
5.1.1 มีความสามารถในการวิเคราะห์เชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ รวมทั้งการใช้ความรู้ ความสามารถเชิงเทคนิคในการวางแผนงาน การควบคุม การประเมินผล และ การรายงานผล ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม โดยคํานึงถึงผลกระทบที่อาจ เกิดขึ้นจากการตัดสินใจ 5.1.2 มีความสามารถในการปฏิบัติและประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศทางการบัญชี โดยเฉพาะเทคโนโลยีดิจิทัลที่มีในปัจจุบัน เพื่อพัฒนากระบวนการทํางานด้าน วิชาชีพบัญชีให้มีประสิทธิภาพ 5.1.3 มีความสามารถในการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งการพูดและการเขียน โดย เลือกใช้รูปแบบการนําเสนอที่เหมาะสมกับสถานการณ์
- บรรยาย โดยการใช้ MS Power Point หนังสือ บทความวิชาการ และงานวิจัย
- พูดคุย โต้ตอบ
- ให้นักศึกษา Self-study 
- มอบหมายให้ทำงานร่วมกันเป็นกลุ่ม
- มอบหมายให้นักศึกษาค้นคว้าข้อมูลเพื่อการวางแผนทางภาษีอากร และศึกษาวิธีการปฏิบัติและวิธีการคำนวณ การใช้สิทธิประโยชน์ทางภาษีอากรที่เกี่ยวข้องกับการประกอบธุรกิจในรูปแบบบุคคลธรรมดา และนิติบุคคล
- ให้นักศึกษาเขียนตอบและตอบปากเปล่า - การพูดคุยโต้ตอบระหว่างนักศึกษาและผู้สอน  - คะแนนสอบกลางภาคและปลายภาค
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา ด้านคุณธรรม จริยธรรม ด้านความรู้ ด้านทักษาะทางปัญญา ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 1.2 1.3 2.1 2.2 2.3 2.4 3.1 3.2 3.3 3.4 4.1 4.2 4.3 5.1 5.2 5.3
1 BACAC149 การวางแผนภาษีอากร
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1,2,4,5 สอบกลางภาค สอบปลายภาค 9 17 25% 25%
2 1,2,3,4,5 การทำงานกลุ่มและรายงานผลงานกลุ่ม การวัดผลจากการมีส่วนร่วมในการทำงานกลุ่ม การส่งงานตามที่มอบหมาย 8,16 15%, 20%
3 1,2,3,4,5 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย ความกล้าแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน ทุกสัปดาห์ 5%
4 2,3,4,5 มอบหมายงานให้นักศึกษาค้นคว้าข้อมูลเพื่อการวางแผนทางภาษีอากร บริการวิชาการ 16 10%
วารสารตำราและเอกสารเกี่ยวกับการวางแผนภาษีอากร
หนังสือ การบัญชีภาษีอากร อื่น ๆ
หนังสือภาษีอากร ตามประมวลรัษฎากร
ประมวลรัษฎากร
พระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ. 2543
กลยุทธ์การวางแผนภาษีขั้นสูง
การวางแผนภาษีหัก ณ ที่จ่ายอย่างเหนือชั้น
140 สวัสดิการการวางแผนภาษีและการบันทึกบัญชีผลประโยชน์พนักงาน
เว็บไซด์ สภาวิชาชีพบัญชีในพระบรมราชูปถัมภ์ www.tfac.or.th
เว็บไซด์ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า www.dbd.go.th
เว็บไซด์ กรมสรรพากร www.rd.go.th
     ให้นักศึกษาประเมินผลการสอนอาจารย์ผู้สอน ตามแบบประเมินของมหาวิทยาลัย
     2.1 พิจารณาจากผลคะแนนการสอบ
     2.2 พิจารณาจากงานที่มอบหมายให้
     2.3 พิจารณาจากพฤติกรรมและการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน
     นำผลการประเมินประสิทธิผลการสอนรายวิชาโดยนักศึกษามาพิจารณาปรับปรุงการสอน
     สรุปผลการเรียนรู้ของนักศึกษาจากผลการสอบ การทำกรณีศึกษา ปรับปรุงการสอนโดยเน้นในเรื่องที่นักศึกษาขาดทักษะ
     การทวนข้อสอบและเกณฑ์ที่ใช้วัดผลสัมฤทธิ์ให้สอดคล้องกับมาตรฐานผลการเรียนรู้
     นำผลการประเมินจากข้อ 1 ข้อ 3 และ ข้อ 4 มาพิจารณาปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา ในเรื่อง
อาจารย์ผู้สอน การจัดตารางเรียน การสอนเสริม การทบทวนและปรับปรุงเนื้อหา มาตรฐานข้อสอบ