การป้องกันระบบไฟฟ้ากำลัง

Power System Protection

1.1 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพื้นฐานของการป้องกันระบบไฟฟ้ากำลัง 1.2 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหม้อแปลงเครื่องมือวัดและทรานส์ดิวเซอร์ 1.3 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับอุปกรณ์ป้องกันและระบบการป้องกัน 1.4 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการป้องกันกระแสเกินและฟอลต์ลงดิน 1.5 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการป้องกันแบบผลต่างและการป้องกันสายส่งโดยใช้รีเลย์วัดระยะทาง 1.6 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการป้องกันสายส่งโดยใช้ไพล๊อตรีเลย์ 1.7 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการป้องกันมอเตอร์และการป้องกันหม้อแปลงไฟฟ้า 1.8 การป้องกันเครื่องกำเนิดไฟฟ้าและการป้องกันเขตบัส
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการป้องกันระบบไฟฟ้ากำลัง อุปกรณ์ต่างๆ ที่ใช้ในการป้องกันแต่ละส่วนและวิธีการป้องกันระบบไฟฟ้ากำลังในแต่ละส่วน
ศึกษาเกี่ยวกับพื้นฐานของการป้องกันระบบไฟฟ้ากำลัง หม้อแปลงเครื่องมือวัดและทรานส์ดิวเซอร์ อุปกรณ์ป้องกันและระบบป้องกัน การป้องกันกระแสเกินและฟอล์ตลงดิน การป้องกันแบบผลต่าง การป้องกันสายส่งโดยใช้รีเลย์วัดระยะทาง การป้องกันสายส่งโดยใช้ไพล๊อตรีเลย์ การป้องกันมอเตอร์ การป้องกันหม้อแปลงไฟฟ้า การป้องกันเครื่องกำเนิดไฟฟ้า การป้องกันเขตบัส ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอุปกรณ์ป้องกันแบบดิจิทัล  แก้ไข
จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือ รายกลุ่มตามความต้องการ ประมาณ 1 ชั่วโมงต่อ สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
1.1 คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา
1.1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม และจริยธรรม 1.1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ 1.1.3 มีวินัย ขขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม 1.1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ 
 
1.2 วิธีการสอน
1.2.1 แนะนำในห้องเรียน 1.2.2 อธิบายความหมายข้อดี ข้อเสีย  1.2.3 แนะนำและยกตัวอย่าง อธิบายระเบียบการเข้าชั้นเรียน 1.2.4 แนะนำและอธิบายในชั้นเรียน มีสัมมาคารวะให้ความเคารพแก่ ครู อาจารย์ พ่อ แม่ ผู้อาวุโสที่เป็นเครือญาต และรุ่นพี  
 
1.3 วิธีการประเมินผล
1.3.1 สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษา 1.3.2 เช็ครายชื่อนักศึกษาที่เข้าชั้นเรียน ตรวจงานที่มอบหมายให้นักศึกษา เน้นให้ส่งตรงตามเวลา 
 2.1.1 มีความรู้ความเข้าในด้านทฤษฎีและสามารถนำไปปฎิบัติได้ 
สอนและอธิบายตามรายละเอียดในคำอธิบายรายวิชา   - ใช้สื่อการสอนเพื่อให้นักศึกษาเข้าใจได้ดี เช่น ใช้รูปภาพ แผ่นใส ของจริง เป็นต้น 
2.3.1  สังเกตพฤติกรรมนักศึกษา 2.3.2  ให้คะแนนใบงาน สอบข้อเขียนและปฏิบัติ ทั้งกลางภาค และ ปลายภาค 2.3.3  ประเมินจากการวิเคราะห์กรณีศึกษา 2.3.4  ประเมินจากแบบฝึกหัดของนักศึกษา
พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ  
 
มอบหมายโครงงานให้นักศึกษาทำ
 
ตรวจสอบโครงงานของนักศึกษา
 
4.1.1 มีมนุษย์สัมพันธ์ และมารยาทสัมคมที่ดี 4.1.2 มีภาวะความเป็นผู้นำ และผู้ตามอย่างมีประสิทธิภาพและสามารถทำงานเป็นกลุ่มได้
 
4.2.1 แนะนำในห้องเรียน 4.2.2 มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคลกำหนดความรับผิดชอบของนักศึกษาแต่ละคนในการทำงานกลุ่มอย่างชัดเจน
 
4.3.1 สังเกตพฤติกรรมนักศึกษา  4.3.2 ตรวจสอบงานที่ทำและสังเกตพฤติกรรมการทำงานของนักศึกษา
 
5.1.1 ทักษะการคิดคำนวณเชิงตัวเลข 5.1.2 ทักษะในการค้นหาข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต  
 
5.2.1 มอบหมายให้นักศึกษาคิดคำนวณเชิงตัวเลขโดยใช้เครื่องคำนวณตัวเลขที่สอดคล้องกับยุคสมัย 5.2.2 มอบหมายงานให้นักศึกษาค้นหาข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
 
5.3.1 ตรวจสอบงานคิดคำนวณเชิงตัวเลขที่ได้มอบหมายให้นักศึกษาปฏิบัติ 5.3.2 ตรวจสอบงานที่ได้ให้นักศึกษาหาข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
 
6.1 ผลการเรียนรู้ด้านทักษะพิสัย  6.1.1 ความสามารถในการปฏิบัติงานได้อย่างคล่องแคล่วชำนิชำนาญ
 
6.2.1 มอบหมายให้นักศึกษาทำงานตามที่ได้รับมอบหมาย
 
6.3.1 ตรวจสอบงานความถูกต้อง 6.3.2 ส่งงานตามระยะเวลาที่กำหนด
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.ด้านคุณธรรมแลจริยธรรม 2.ด้านความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคลและความรับผิดชอบ 5.ด้านทักษะ การวิเคราะห์ เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1. 2. 3. 4. 5. 1. 2. 3. 4. 5. 1. 2. 3. 4. 5. 1. 2. 3. 4. 5. 1. 2. 5. 3. 4. 1. 2.
1 ENGEE136 การป้องกันระบบไฟฟ้ากำลัง
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 บทที่ 1 บทที่ 2 บทที่ 1-4 บทที่ 6 บทที่ 6 บทที่ 5-7 ทดสอบย่อยครั้งที่ 1 (อุปกรณ์ตรวจจับ) ทดสอบย่อยครั้งที่ 2 (รีเลย์ระยะทาง และรีเลย์รู้ทิศทาง) สอบกลางภาค ทดสอบย่อยครั้งที่ 3 (การป้องกันสายส่งโดยใช้รีเลย์กระแสเกิน) ทดสอบย่อยครั้งที่ 4 (การป้องกันสายส่งโดยใช้รีเลย์ระยะทาง) สอบปลายภาค 4 7 9 13 16 17 5 % 7 % 18 % 7 % 8 % 25 %
1. การป้องกันระบบไฟฟ้ากำลัง / ธนบูรณ์  ศศิภานุเดช  2. การป้องกันระบบไฟฟ้ากำลัง / กิตติพงษ์  ตันมิตร  3. รีเลย์และการป้องกันระบบไฟฟ้ากำลัง / สันติ  อัศวศรีพงศ์ธร
เอกสารประกอบการสอน  การป้องกันระบบไฟฟ้ากำลัง
ข้อสอบ กว
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด  ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้ 2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน 2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา 2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้ 3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน 3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้ 4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร 4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้ 5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ