การทำความเย็นและปรับอากาศ

Refrigeration and Air–Conditioning

1.1 เข้าใจหลักการพื้นฐานเกี่ยวกับระบบการทำความเย็นและปรับอากาศ
1.2 เข้าใจและอธิบายเกี่ยวกับอุปกรณ์ในระบบการทำความเย็นและสารทำความเย็นได้
1.3 สามารถคํานวณระบบการทำความเย็นและปรับอากาศ
1.4 สามารถติดตั้งและซ่อมบำรุงรักษาระบบการทำความเย็นและปรับอากาศได้
1.5 มีเจตคติและกิจนิสัยที่ดีในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
เพื่อให้นักศึกษาเรียนรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับ เทคโนโลยีเครื่องทำความเย็นและปรับอากาศที่เปลี่ยนแปลงไป 
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับหลักการพื้นฐานทางเทอร์โมไดนามิกส์ การทำความเย็นแบบอัดไอ วัฏจักร การทำความเย็นแบบอัดไอ คุณสมบัติของอากาศและกระบวนการปรับอากาศ อุปกรณ์ในระบบการทำความเย็น สารทำความเย็นภาระการทำความเย็นและปรับอากาศ ฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับระบบท่อทำความเย็น การทำสูญกาศและสารทำความเย็น การติดตั้งเครื่องปรับอากาศ การทดลองระบบเครื่องทำความเย็นแบบอัดไอ และการตรวจซ่อมบำรุงรักษา
สอนเสริมตามความต้องการของนักศึกษาเฉพาะราย หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์
ระดับความรับผิดชอบ ผลการเรียนรู้ วิธีการประเมิน สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนที่ประเมิน รอง 1.มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ เข้าชั้นเรียนการมีส่วนร่วมเสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอภาคการศึกษา 10 % รอง 2.มีวินัย  ขยัน  อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง  สังคม และสิ่งแวดล้อม
เอกสารประกอบการสอน สื่อการสอน ใบงาน
1. แบบทดสอบ 2.แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 3.ประเมินทักษะการปฏิบัติงาน ใบงาน
พื้นฐานทางเทอร์โมไดนามิกส์ การทำความเย็นแบบอัดไอ วัฏจักร การทำความเย็นแบบอัดไอ คุณสมบัติของอากาศและกระบวนการปรับอากาศ อุปกรณ์ในระบบการทำความเย็น สารทำความเย็นภาระการทำความเย็นและปรับอากาศ ฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับระบบท่อทำความเย็น การทำสูญกาศและสารทำความเย็น การติดตั้งเครื่องปรับอากาศ การทดลองระบบเครื่องทำความเย็นแบบอัดไอ และการตรวจซ่อมบำรุงรักษา
ระดับความรับผิดชอบ ผลการเรียนรู้ วิธีการประเมิน สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนที่ประเมิน หลัก 1.ทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการ และวิชาชีพ ปฏิบัติงานติดตั้งทดสอบ และซ่อมบำรุงรักษาเครื่องทำความเย็น 2-7 20% หลัก 2.มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ ปฏิบัติงานติดตั้งทดสอบ และซ่อมบำรุงรักษาเครื่องปรับอากาศ 9-15 20%
1. แบบทดสอบ 2.แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 3.ประเมินทักษะการปฏิบัติงาน ใบงาน
ระดับความรับผิดชอบ ผลการเรียนรู้ วิธีการประเมิน สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนที่ประเมิน รอง สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม  ค้นคว้านำเสนอรายงานตามที่ได้รับมอบหมาย 6 , 15 5%
ทำรายงานวิธีการติดตั้งเครื่องปรับอากาศ และการซ่อมบำรุง
1. แบบทดสอบ 2.แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 3.ประเมินทักษะการปฏิบัติงาน ใบงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1คุณธรรมจริยธรรม 2. ด้านความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ 2.มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม 1. มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 2.สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องและติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา 1.ทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการ และวิชาชีพ 2.มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม 6. ทักษะพิสัย
1 TEDEE104 การทำความเย็นและปรับอากาศ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 หน่วยที่ 1-5 หน่วยที่ 6-10 สอบกลางภาค สอบปลายภาค 9,18 20% 20%
2 ฝึกปฎิบัติการทำความเย็นและปรับอากาศ วิเคราะห์กรณีศึกษาค้นคว้า การนำเสนอ รายงาน การทำงานกลุ่มและผลงาน การปฏิบัติงานตามที่มอบหมาย ฝึกปฎิบัติการทำความเย็นและปรับอากาศ วิเคราะห์กรณีศึกษาค้นคว้า การนำเสนอ รายงาน การทำงานกลุ่มและผลงาน การปฏิบัติงานตามที่มอบหมาย ตลอดปีการศึกษา 50 %
3 หน่วยที่ 1-10 ทดสอบการทำความเย็นและปรับอากาศ ตลอดปีการศึกษา 10%
ฉัตรชาญ ทองจับ. เครื่องทำความเย็นและปรับอากาศ. พิมพ์ครั้งที่ 1 กรุงเทพมหานคร :สกายบุ๊ค.2558. สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล. เครื่องทำความเย็นและปรับอากาศ. กรุงเทพฯ : สำนักพัฒนานักศึกษา สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ. 2547
สื่อการสอนเครื่องทำความเย็นและปรับอากาศ เอกสารประกอบการสอนเครื่องทำความเย็นและปรับอากาศ
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน 2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา 2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้  แก้ไข
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้ 3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน 3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้ 4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร 4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้ 5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ