ความปลอดภัยในการทำงานและความปลอดภัยส่วนบุคคล

Work Safety and Personal Safety

1. รู้กฎหมายที่เกี่ยวข้องอันเป็นพื้นฐานการทำงาน
2. รู้ปัจจัยและสาเหตุของอุบัติเหตุ
3. เข้าใจการวิเคราะห์และควบคุมความเสี่ยงภัยในพื้นที่การทำงาน
4. รู้วิธีการป้องกันอุบัติภัยในการทำงาน
5. รู้สภาพแวดล้อมและองค์ประกอบเกี่ยวกับความปลอดภัย
6. เข้าใจการป้องกันภัยส่วนบุคคล
7. เข้าใจการรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหา และความต้องการที่เกี่ยวข้องกับปัจจัยและสาเหตุการเกิดอุบัติเหตุ
8. สามารถวิเคราะห์และควบคุมความเสี่ยง วิธีป้องกันอุบัติภัย การประเมินความเสี่ยง
เพื่อศึกษากฎหมายที่เกี่ยวข้องอันเป็นพื้นฐานการทำงาน ปัจจัยและสาเหตุของอุบัติเหตุ การวิเคราะห์และควบคุมความเสี่ยงภัยในพื้นที่การทำงาน วิธีการป้องกันอุบัติภัยในการทำงาน สภาพแวดล้อมและองค์ประกอบเกี่ยวกับความปลอดภัย การป้องกันภัยส่วนบุคคล การรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหา และความต้องการที่เกี่ยวข้องกับปัจจัยและสาเหตุการเกิดอุบัติเหตุ วิเคราะห์และควบคุมความเสี่ยง วิธีป้องกันอุบัติภัย การประเมินความเสี่ยง
ศึกษากฎหมายที่เกี่ยวข้องอันเป็นพื้นฐานการทำงาน ปัจจัยและสาเหตุของอุบัติเหตุ การวิเคราะห์และควบคุมความเสี่ยงภัยในพื้นที่การทำงาน วิธีการป้องกันอุบัติภัยในการทำงาน สภาพแวดล้อมและองค์ประกอบเกี่ยวกับความปลอดภัย การป้องกันภัยส่วนบุคคล การรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหา และความต้องการที่เกี่ยวข้องกับปัจจัยและสาเหตุการเกิดอุบัติเหตุ วิเคราะห์และควบคุมความเสี่ยง วิธีป้องกันอุบัติภัย การประเมินความเสี่ยง
2 ชั่วโมง
1. มีภาวะความเป็นผู้นำ และผู้ตาม สามารถทำงานเป็นหมู่คณะ สามารถแก็ไขข้อขัดแย้งตามลำดับความสำคัญ เคารพสิทธิ และรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่า และศักดฺศรีของความเป็นมนุษย์ (3)
2. มีจรรยาบรรณทางวิชาการ และวิชาชีพ และมีความรับผิดชอบในฐานะผู้ประกอบวิชาชีพ รวมถึงเข้าใจถึงบริบททางสังคมของวิชาชีพวิศวกรรมในแต่ละสาขาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน (5)
1. กำหนดให้มีวัฒนธรรมองค์กร เพื่อเป็นการปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย โดยเน้นการเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลาตลอดจนการแต่งกายที่เป็นไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัย นักศึกษาต้องมีความรับผิดชอบ โดยการทำงานกลุ่มนั้นต้องฝึกให้รู้จักหน้าที่ของการทำงานเป็นกลุ่ม และการเป็นสมาชิกกลุ่มที่มีความซื่อสัตย์ โดยต้องไม่กระทำการทุจริตในการสอบหรือการลอกการบ้านของผู้อื่น
1. ประเมินจากการตรงต่อเวลาของนักศึกษาในภาพชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมาย และการร่วมกิจกรรม
2. ปริมาณการกระทำทุจริตในการสอบ
3. ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
1. สามารถวิเคราะห์ และแก้ไขปัญหา ด้วยวิธีการที่เหมาะสม รวมถึงการประยุกต์ใช้เครื่องมือที่เหมาะสม (4)
1. ใช้การเรียนการสอนในหลากหลายรูปแบบ โดยเน้หลักการทางทฤษฎีและประยุกต์ทางปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริง โดยทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี ทั้งนี้ให้เป็นไปตามลักษณะของรายวิชาตลอดจนเนื้อหาสาระของรายวิชา 
1. การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
2. ประเมินจากรายงานที่นักศึกษาจัดทำ
3. ประเมินจากการนำเสนอรายงานหน้าชั้นเรียน
1. สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหา และความต้องการ (2)
2. สามารถคิด วิเคราะห์ และแก้ไขปัญหาด้านวิศวกรรมได้อย่างมีระบบ รวมถึงการใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ (3)
3. สามารถสืบค้นข้อมูลและแสวงหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต และทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางองค์ความรู้ และเทคโนโลยีใหม่ๆ (5)
1. การอภิปรายกลุ่ม หรือการศึกษาค้นคว้า รายงานทางเอกสาร และรายงานหน้าชั้นเรียน
1. ประเมินตามสภาพจริงจากผลงานและการปฏิบัติของนักศึกษา เช่น ประเมินจากการนำเสนอรายงานหน้าชั้นเรียน การทดสอบโดยใช้แบบทดสอบหรือสัมภาษณ์
1. สามารถวางแผน และรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเอง และสอดคล้องกับทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง (3)
2. รู้จักบทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบในการทำงานตามที่มอบหมายทั้งงานบุคคล และงานกลุ่ม สามารถปรับตัวและทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำและผ้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพรวมถึงสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม สามารถวางตัวได้อย่างเหมาะสมกับความรับผิดชอบ (4)
3. มีจิตสำนึกความรับผิดชอบด้านความปลอดภัยในการทำงาน และรักษาสภาพแวดล้อมต่อสังคม (5)
1. สามารถทำงานกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี
2. มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย
3. สามารถปรับตัวเข้ากับสถานการณ์ และวัฒนธรรมองค์กรที่ปฏิบัติงานได้เป็นอย่างดี
4. มีภาวะผู้นำ มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีกับผู้ร่วมงานในองค์กร และกับบุคคลทั่วไป
5. ส่งเสริมการเคารพสิทธิ และการรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
1. ประเมินพฤติกรรมภาวะการเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี
2. ติดตามการทำงานร่วมกับสมาชิกกลุ่มของนักศึกษาเป็นระยะ พร้อมบันทึกพฤติกรรมเป็นรายบุคคล
1. มีทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือการแสดงสถิติประยุกต์ต่อการแก้ไขปัญหาที่เกี่ยวข้องได้อย่างสร้างสรรค์ (2)
2. มีทักษะในการสื่อสารข้อมูลทั้งทางการพูด การเขียน และการสื่อความหมายโดยใช้สัญลักษณ์ (4)
1. ส่งเสริมการค้นคว้า เรียบเรียงข้อมูล และนำเสนอให้ผู้อื่นเข้าใจได้ถูกต้อง และให้ความสำคัญในการอ้างอิงแหล่งที่มาของข้อมูล
1. ประเมินจากเทคนิคการนำเสนอโดยใช้ทฤษฎีการเลือกใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีหรือคณิตศาสตร์และสถิติที่เกี่ยวข้องทางวิศวกรรมศาสตร์
2. ประเมินจากความสามารถในการอธิบายถึงข้อจำกัด เหตุผลในการเลือกใช้เครื่องมือต่างๆ การอภิปราย กรณีศึกษาต่างๆ ที่มีการนำเสนอหน้าชั้นเรียน 
 
1. มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์ และวิธีการได้อย่างมีประสิทธิภาพ (1)
2. มีทักษะในการปฏิบัติงานกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ และมีความร่วมมือกันเป็นอย่างดี (2)
1. สร้างทักษะในการปฏิบัติงาน
2. สาธิตการปฏิบัติงานโดยผู้เชี่ยวชาญ
3. สนับสนุนการเข้าร่วมกิจกรรมทางวิศวกรรมกับหน่วยงานภายใน และภายนอก
1. มีการประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติงาน
2. มีการใช้งานวิจัยของอาจารย์ประกอบการเรียนการสอน
3. มีการประเมินผลการทำงานในภาคปฏิบัติ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรมจริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลเเละความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1. มีภาวะความเป็นผู้นำ และผู้ตาม สามารถทำงานเป็นหมู่คณะ สามารถแก็ไขข้อขัดแย้งตามลำดับความสำคัญ เคารพสิทธิ และรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่า และศักดฺศรีของความเป็นมนุษย์ (3) 2. มีจรรยาบรรณทางวิชาการ และวิชาชีพ และมีความรับผิดชอบในฐานะผู้ประกอบวิชาชีพ รวมถึงเข้าใจถึงบริบททางสังคมของวิชาชีพวิศวกรรมในแต่ละสาขาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน (5) 1. สามารถวิเคราะห์ และแก้ไขปัญหา ด้วยวิธีการที่เหมาะสม รวมถึงการประยุกต์ใช้เครื่องมือที่เหมาะสม (4) 1. สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหา และความต้องการ (2) 2. สามารถคิด วิเคราะห์ และแก้ไขปัญหาด้านวิศวกรรมได้อย่างมีระบบ รวมถึงการใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ (3) 3. สามารถสืบค้นข้อมูลและแสวงหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต และทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางองค์ความรู้ และเทคโนโลยีใหม่ๆ (5) 1. สามารถวางแผน และรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเอง และสอดคล้องกับทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง (3) 2. รู้จักบทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบในการทำงานตามที่มอบหมายทั้งงานบุคคล และงานกลุ่ม สามารถปรับตัวและทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำและผ้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพรวมถึงสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม สามารถวางตัวได้อย่างเหมาะสมกับความรับผิดชอบ (4) 3. มีจิตสำนึกความรับผิดชอบด้านความปลอดภัยในการทำงาน และรักษาสภาพแวดล้อมต่อสังคม (5) 1. มีทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือการแสดงสถิติประยุกต์ต่อการแก้ไขปัญหาที่เกี่ยวข้องได้อย่างสร้างสรรค์ (2) 2. มีทักษะในการสื่อสารข้อมูลทั้งทางการพูด การเขียน และการสื่อความหมายโดยใช้สัญลักษณ์ (4) 1. มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์ และวิธีการได้อย่างมีประสิทธิภาพ (1) 2. มีทักษะในการปฏิบัติงานกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ และมีความร่วมมือกันเป็นอย่างดี (2)
1 ENGMT201 ความปลอดภัยในการทำงานและความปลอดภัยส่วนบุคคล
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 จิตพิสัย/การเข้าเรียน/ความร่วมมือ 1 - 8 และ 10 - 16 20
2 งานที่มอบหมาย 15 -16 30
3 สอบกลางภาคและสอบปลายภาค 10 และ 17 50
1. วิศวกรรมความปลอดภัยวิศวกรรมความปลอดภัย
2. วิศวกรรมและการบริหารความปลอดภัยในโรงงาน
3. Smart Technologies for Safety Engineering
4. Safety, Reliability and Risk Analysis
1. การทบทวนการเรียนการสอนโดยวิธีการถามตอบแต่ละสัปดาห์ในชั่วโมงเรียน
2. การสอบกลางภาคและปลายภาค
แบบสอบถามความคิดเห็นความพึงพอใจของนักศึกษาต่อการเรียนการสอนของรายวิชา
นำผลการประเมินจาก ข้อ 1 และ ข้อ 2 เป็นตัวกำหนดแนวทางในการปรับปรุงการสอนในภาคเรียนถัดไป
การทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาโดยการสุ่มนักศึกษาทดสอบความรู้ร้อยละ 20 ของนักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียน
นำข้อมูลจากผลการประเมินในแต่ละด้านมาทำการวางแผนและปรับปรุงวิธีการสอนของรายวิชา