ระบบสมองกลฝังตัว

Embedded Systems

1. เข้าใจสถาปัตยกรรมและหลักการทำงานของไมโครคอนโทรลเลอร์เพื่อนำไปสร้างโครงงานระบบสมองกล 2. เข้าใจหลักการการออกแบบและกระบวนการทำงานของโครงงานระบบสมองกลโดยใช้ไมโครคอนโทรลเลอร์จากโครงงานที่มีอยู่แล้วในอินเตอร์เน็ต 3. ออกแบบสร้างและเขียนโปรแกรมควบคุมโครงงานสมองกลโดยใช้ไมโครคอนโทรลเลอร์ให้เกิดประโยชน์ในชีวิตประจำวัน 4. นำความรู้ที่ได้ศึกษา มาสอนให้เพื่อนได้เข้าใจถึงโครงงานสมองกลที่ได้สร้างขึ้น 5. มีทัศนคติที่ดีต่อการสร้างโครงงานระบบสมองกลโดยใช้ไมโครคอนโทรลเลอร์
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้และปฏิบัติการเกี่ยวกับโครงงานระบบสมองกล สามารถออกแบบ สร้าง เขียนโปรแกรมและปรับปรุงแก้ไขโครงงานอย่างมีหลักการ อันจะเป็นพื้นฐานการเรียนในวิชาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องต่อไป
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับสถาปัตยกรรมและโครงสร้างของสมองกลฝังตัว การจัดสรรหน่วยความจำและการเชื่อมต่อ อุปกรณ์ต่อพ่วง อุปกรณ์ควบุคมการเชื่อมต่ออุปกรณ์ภายนอกแบบต่างๆ การประมวลผลและระบบระบบปฏิบัติการของระบบสมองกลฝังตัว การเชื่อมต่อในระบบเครือข่าย การออกแบบพัฒนาโปรแกรมและการทดสอบหาข้อผิดพลาด การนำไปใช้งานควบคุม
2 ชั่วโมงต่อสัปดาห์
2.
1. 
2. จุดเน้น
4.
5.
 
1. 
3. 
5. 
4.
 
1. 
2. 
5. 
1. 
2. จุดเน้น
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1. 2. 3. 1. 2. 3. 4. 5. 1. 2. 3. 4. 5. 1. 2. 3. 4. 5. 1. 2. 3. 4. 5. 1. 2.
1 ENGEL112 ระบบสมองกลฝังตัว
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1, 2.2, 3.1, 5.1,5.2 สอบกลางภาค ทดสอบย่อย สอบปลายภาค 8 5,13 17 15% 30% 15%
เทคโนโลยีสมองกลฝังตัว ชื่อผู้แต่ง Japan System House Association (JASA) แปลโดย ดร.ธนารักษ์ ธีระมั่นคง 2549 REAL-TIME SYSTEMS Design Principles for Distributed Embedded Applications ชื่อผู้แต่ง Hermann Kopetz สำนักพิมพ์ / ปีที่พิมพ์ KLUWER/ 2002 ISBN 0-792-39894-7
Embedded Ethernet and Internet Complete: Designing and Programming Small Devices for Networking ชื่อผู้แต่ง JAN AXELSON สำนักพิมพ์ / ปีที่พิมพ์ Lakeview Research LLC / 2003 ISBN 1-931448-00-0
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้ 1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน 1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้ 2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้สอน 2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา 2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้ 3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน 3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
 
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้ 4.1 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม 4.2 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้ 5.1 ปรับปรุงเทคนิควิธีการสอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้ด้วยวิธีการต่าง ๆ 5.2 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4