การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช
Plant Tissue Culture
1.1 ทราบถึงความสำคัญและประโยชน์ของเทคนิคการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช
1.2 มีความรู้และทักษะปฏิบัติเกี่ยวกับเทคนิคขั้นพื้นฐานและวิธีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช หลักการการเตรียมห้อง เครื่องมือ วัสดุที่จำเป็นในการเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช อาหาร การเลือกชิ้นส่วนพืชและการแยกเนื้อเยื่อพืช การนำชิ้นส่วนพืชเลี้ยงในสภาพปลอดเชื้อ การย้ายและเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช การเจริญเติบโตและการพัฒนาของเนื้อเยื่อพืช การปรับสภาพ การเตรียมต้นกล้าและการย้ายปลูก
1.3 ทราบถึงความสำคัญของการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชกับการพัฒนาการผลิตพืชและธุรกิจการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชเพื่อการค้า
1.4 นำความรู้และทักษะด้านการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช ไปประยุกต์ใช้ในการทำงานจริง 1.5 มีเจตคติที่ดีต่อการประกอบวิชาชีพด้านการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช และอาชีพที่เกี่ยวข้องและสัมพันธ์
1.2 มีความรู้และทักษะปฏิบัติเกี่ยวกับเทคนิคขั้นพื้นฐานและวิธีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช หลักการการเตรียมห้อง เครื่องมือ วัสดุที่จำเป็นในการเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช อาหาร การเลือกชิ้นส่วนพืชและการแยกเนื้อเยื่อพืช การนำชิ้นส่วนพืชเลี้ยงในสภาพปลอดเชื้อ การย้ายและเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช การเจริญเติบโตและการพัฒนาของเนื้อเยื่อพืช การปรับสภาพ การเตรียมต้นกล้าและการย้ายปลูก
1.3 ทราบถึงความสำคัญของการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชกับการพัฒนาการผลิตพืชและธุรกิจการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชเพื่อการค้า
1.4 นำความรู้และทักษะด้านการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช ไปประยุกต์ใช้ในการทำงานจริง 1.5 มีเจตคติที่ดีต่อการประกอบวิชาชีพด้านการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช และอาชีพที่เกี่ยวข้องและสัมพันธ์
เพื่อฝึกทักษะด้านการวิเคราะห์และปรับปรุงรูปแบบการนำเทคโนโลยีด้านการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชมาใช้ในการผลิตพืชเพื่อการค้า รวมถึงการเพิ่มพูนความรู้ทางเทคโนโลยีนำมาประยุกต์ใช้ในการวางแผนการผลิตและการจัดจำหน่ายผลผลิตจากการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อในรูปแบบต่างๆ
ศึกษาและฝึกปฏิบัติถึงความสำคัญและประโยชน์ของการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช การเตรียมห้องปฏิบัติการ เครื่องมือ และวัสดุอุปกรณ์ที่จำเป็น เทคนิคและวิธีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช การเจริญเติบโตและการพัฒนาของเนื้อเยื่อพืช การปรับสภาพและการย้ายปลูกต้นกล้า การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชกับการพัฒนาการผลิตพืช การเตรียมต้นกล้าและการย้ายปลูก ธุรกิจการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชกับการพัฒนาทางการเกษตรเพื่อการค้า
Study and practice of important and beneficial of plant tissue culture, laboratory room, instruments, and essential materials preparation, techniques and methods in plant tissue culture, the growth and development of plant tissue, pretreatment and transfer of seedlings, plant tissue culture with the development of crops production, preparation of seedlings and transplanting, plant tissue culture business and agricultural trade development
Study and practice of important and beneficial of plant tissue culture, laboratory room, instruments, and essential materials preparation, techniques and methods in plant tissue culture, the growth and development of plant tissue, pretreatment and transfer of seedlings, plant tissue culture with the development of crops production, preparation of seedlings and transplanting, plant tissue culture business and agricultural trade development
3.1 ห้องพักอาจารย์ สาขาพืชศาสตร์ หรือ โทรศัพท์ 080-8571739
3.2 ส่ง e-mail: Wanwisa_ink@rmutl.ac.th
3.3 ให้คำปรึกษาผ่าน line กลุ่มวิชา ในวันเวลาราชการ *หากกรณีฉุกเฉินสามารถติดต่อได้ตลอด
3.2 ส่ง e-mail: Wanwisa_ink@rmutl.ac.th
3.3 ให้คำปรึกษาผ่าน line กลุ่มวิชา ในวันเวลาราชการ *หากกรณีฉุกเฉินสามารถติดต่อได้ตลอด
1. คุณธรรมจริยธรรม
1. ศรัทธาในความดี มีหลักคิดและแนวปฏิบัติในทางส่งเสริมความดีและคุณค่าความเป็นมนุษย์ มีความรับผิดชอบ มีศีลธรรมซื่อสัตย์สุจริตและสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมอย่างสันติ
2. มีระเบียบวินัยและเคารพกฎกติกาของสังคม ประพฤติปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ
1. ศรัทธาในความดี มีหลักคิดและแนวปฏิบัติในทางส่งเสริมความดีและคุณค่าความเป็นมนุษย์ มีความรับผิดชอบ มีศีลธรรมซื่อสัตย์สุจริตและสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมอย่างสันติ
2. มีระเบียบวินัยและเคารพกฎกติกาของสังคม ประพฤติปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ
1. เน้นการเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลาตลอดจนการแต่งกายที่เป็นไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัย
2. นักศึกษาต้องมีความรับผิดชอบ โดยในการทำงานกลุ่มรู้หน้าที่ของการเป็นผู้นำกลุ่มและการเป็นสมาชิกกลุ่ม
3. มีความซื่อสัตย์โดยต้องไม่กระทำการทุจริตในการสอบหรือลอกการบ้านของผู้อื่น
4. สอดแทรกเรื่องคุณธรรมจริยธรรมในการสอนรวมทั้งมีการจัดกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม เช่น การยกย่องนักศึกษาที่ทำดีทำประโยชน์แก่ส่วนรวมและเสียสละ
2. นักศึกษาต้องมีความรับผิดชอบ โดยในการทำงานกลุ่มรู้หน้าที่ของการเป็นผู้นำกลุ่มและการเป็นสมาชิกกลุ่ม
3. มีความซื่อสัตย์โดยต้องไม่กระทำการทุจริตในการสอบหรือลอกการบ้านของผู้อื่น
4. สอดแทรกเรื่องคุณธรรมจริยธรรมในการสอนรวมทั้งมีการจัดกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม เช่น การยกย่องนักศึกษาที่ทำดีทำประโยชน์แก่ส่วนรวมและเสียสละ
1.ประเมินการมีวินัยจากการตรงเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดและเข้าร่วมกิจกรรมที่กำหนด
2. ประเมินจากความพร้อมเพรียงของนักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร
3. ประเมินจากความซื่อสัตย์สุจริตในการทำงานที่ได้รับมอบหมายและการสอบ
4. ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
5. ประเมินจากผลงานที่ไม่คัดลอกผลงานผู้อื่นหรือมีการอ้างอิงเอกสารทางวิชาการเพื่อให้เกียรติแก่เจ้าของผลงาน
6. ประเมินจากพฤติกรรมในการทำงานในชั้นเรียนที่ไม่เลือกปฏิบัติและการไม่ละเมิดสิทธิของผู้อื่น
2. ประเมินจากความพร้อมเพรียงของนักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร
3. ประเมินจากความซื่อสัตย์สุจริตในการทำงานที่ได้รับมอบหมายและการสอบ
4. ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
5. ประเมินจากผลงานที่ไม่คัดลอกผลงานผู้อื่นหรือมีการอ้างอิงเอกสารทางวิชาการเพื่อให้เกียรติแก่เจ้าของผลงาน
6. ประเมินจากพฤติกรรมในการทำงานในชั้นเรียนที่ไม่เลือกปฏิบัติและการไม่ละเมิดสิทธิของผู้อื่น
2. ความรู้
1. มีความรู้ ความเข้าใจ ในสาขาวิชาชีพที่เรียนอย่างถ่องแท้และเป็นระบบ ทั้งหลักการ ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้ความรู้ที่ทันสมัยในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง
2. มีความรู้ในหลายสาขาวิชาและสามารถประยุกต์ใช้ในการดำรงชีวิต รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี สังคม เศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อม
1. มีความรู้ ความเข้าใจ ในสาขาวิชาชีพที่เรียนอย่างถ่องแท้และเป็นระบบ ทั้งหลักการ ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้ความรู้ที่ทันสมัยในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง
2. มีความรู้ในหลายสาขาวิชาและสามารถประยุกต์ใช้ในการดำรงชีวิต รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี สังคม เศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อม
1. เน้นหลักการทางทฤษฎีและประยุกต์ใช้ทางปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริง โดยทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี
2. จัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริงโดยมีการศึกษาดูงานหรือเชิญผู้เชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์ตรงมาเป็นวิทยากรพิเศษเฉพาะเรื่อง
2. จัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริงโดยมีการศึกษาดูงานหรือเชิญผู้เชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์ตรงมาเป็นวิทยากรพิเศษเฉพาะเรื่อง
1. การทดสอบย่อย
2. การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
3. ประเมินจากรายงานที่นักศึกษาจัดทำ
4. ประเมินจากแผนงานหรือโครงการที่นำเสนอ
5. ประเมินจากการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
3. ทักษะทางปัญญา
1. มีทักษะในการคิดวิเคราะห์อย่างมีเหตุผลและคิดแบบองค์รวม
2. มีความสามารถในการคิดริเริ่มสร้างสรรค์จากพื้นฐานของความรู้ที่เรียน นำมาพัฒนานวัตกรรมหรือสร้างองค์ความรู้ใหม่
3. แสวงหาความรู้เพิ่มเติมจากแหล่งต่างๆ อย่างสม่ำเสมอและรู้จักเทคนิควิธีและกระบวนการในการเรียนรู้และสามารถนำไปใช้ในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเองได้อย่างเหมาะสม
1. มีทักษะในการคิดวิเคราะห์อย่างมีเหตุผลและคิดแบบองค์รวม
2. มีความสามารถในการคิดริเริ่มสร้างสรรค์จากพื้นฐานของความรู้ที่เรียน นำมาพัฒนานวัตกรรมหรือสร้างองค์ความรู้ใหม่
3. แสวงหาความรู้เพิ่มเติมจากแหล่งต่างๆ อย่างสม่ำเสมอและรู้จักเทคนิควิธีและกระบวนการในการเรียนรู้และสามารถนำไปใช้ในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเองได้อย่างเหมาะสม
1. บทบาทสมมติ สถานการณ์จำลอง และกรณีศึกษาทางการเกษตร เพื่อค้นหาข้อเท็จจริง ทำความเข้าใจ ประเมินข้อมูลและหลักฐานใหม่ๆ จากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
2. การอภิปรายกลุ่มเพื่อระดมความคิดวิเคราะห์ข้อมูลและประยุกต์ใช้ข้อมูลที่ได้มาหรือเลือกใช้ความรู้ที่เรียนมาแก้ไขโจทย์ปัญหาที่กำหนด
3. ให้นักศึกษาปฏิบัติจริงเพื่อแก้ไขปัญหาสถานการณ์เฉพาะหน้า
2. การอภิปรายกลุ่มเพื่อระดมความคิดวิเคราะห์ข้อมูลและประยุกต์ใช้ข้อมูลที่ได้มาหรือเลือกใช้ความรู้ที่เรียนมาแก้ไขโจทย์ปัญหาที่กำหนด
3. ให้นักศึกษาปฏิบัติจริงเพื่อแก้ไขปัญหาสถานการณ์เฉพาะหน้า
1. ประเมินจากผลงานการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
2. การสัมภาษณ์หรือการสอบปากเปล่า
3. การทดสอบโดยใช้แบบทดสอบหรือข้อสอบ
2. การสัมภาษณ์หรือการสอบปากเปล่า
3. การทดสอบโดยใช้แบบทดสอบหรือข้อสอบ
4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
1. กล้าแสดงออก กล้าหาญ อดทน หนักแน่น รู้จักเสียสละ ให้อภัย และรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น สุภาพ สามารถประสานความคิดและประโยชน์ด้วยหลักแห่งเหตุผลและความถูกต้อง มีความซื่อสัตย์ สุจริต ยุติธรรม รักองค์กร เป็นผู้นำกลุ่มกิจกรรมได้ทุกระดับและสถานการณ์ที่เหมาะสม มีความรับผิดชอบต่อบทบาทหน้าที่ของตนเองทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตาม
2. มีจิตสำนึกห่วงใยต่อสังคม สิ่งแวดล้อมและสาธารณสมบัติ มีจิตอาสา ไม่ดูดาย มุ่งทำประโยชน์ให้สังคม
1. กล้าแสดงออก กล้าหาญ อดทน หนักแน่น รู้จักเสียสละ ให้อภัย และรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น สุภาพ สามารถประสานความคิดและประโยชน์ด้วยหลักแห่งเหตุผลและความถูกต้อง มีความซื่อสัตย์ สุจริต ยุติธรรม รักองค์กร เป็นผู้นำกลุ่มกิจกรรมได้ทุกระดับและสถานการณ์ที่เหมาะสม มีความรับผิดชอบต่อบทบาทหน้าที่ของตนเองทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตาม
2. มีจิตสำนึกห่วงใยต่อสังคม สิ่งแวดล้อมและสาธารณสมบัติ มีจิตอาสา ไม่ดูดาย มุ่งทำประโยชน์ให้สังคม
1. สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
2. มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย
3. สามารถปรับตัวเข้ากับสถานการณ์ที่ไปปฏิบัติงานได้
4. มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีกับผู้ร่วมงานในองค์กรและกับบุคคลทั่วไป
5. มีภาวะผู้นำและผู้ตามในการยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
6. สามารถวางตนได้เหมาะสมกับกาลเทศะ ขนบธรรมเนียมและแนวทางปฏิบัติเฉพาะของแต่ละวัฒนธรรม
2. มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย
3. สามารถปรับตัวเข้ากับสถานการณ์ที่ไปปฏิบัติงานได้
4. มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีกับผู้ร่วมงานในองค์กรและกับบุคคลทั่วไป
5. มีภาวะผู้นำและผู้ตามในการยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
6. สามารถวางตนได้เหมาะสมกับกาลเทศะ ขนบธรรมเนียมและแนวทางปฏิบัติเฉพาะของแต่ละวัฒนธรรม
1. พฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษาในการนำเสนอรายงานกลุ่มในชั้นเรียนและสังเกตจากพฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่างๆ และความครบถ้วนชัดเจนตรงประเด็นของข้อมูล
5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
1. ความสามารถในการใช้ภาษาไทย ทั้งการฟัง พูด อ่านและเขียน เพื่อการสื่อสารให้เหมาะกับสถานการณ์ และการใช้ภาษาอังกฤษ ในการอ่าน พูด ฟัง และเขียน
2. การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสมในการสื่อสารและค้นคว้าข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1. ความสามารถในการใช้ภาษาไทย ทั้งการฟัง พูด อ่านและเขียน เพื่อการสื่อสารให้เหมาะกับสถานการณ์ และการใช้ภาษาอังกฤษ ในการอ่าน พูด ฟัง และเขียน
2. การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสมในการสื่อสารและค้นคว้าข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1. จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชาต่างๆ ให้นักศึกษาได้วิเคราะห์สถานการณ์จำลอง สถานการณ์เสมือนจริงหรือแก้ไขปัญหาจากกรณีศึกษาหรือในการปฏิบัติงานจริง
2. นำเสนอการแก้ปัญหาที่เหมาะสม เรียนรู้ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และเทคโนโลยีสารสนเทศในหลากหลายสถานการณ์
2. นำเสนอการแก้ปัญหาที่เหมาะสม เรียนรู้ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และเทคโนโลยีสารสนเทศในหลากหลายสถานการณ์
1. ประเมินจากเทคนิคการนำเสนอและการเลือกใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศหรือทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขที่เกี่ยวข้องในการนำเสนอข้อมูล
2. ประเมินจากความสามารถในการอธิบายถึงขั้นตอนการเก็บรวบรวมข้อมูล ข้อจำกัด เหตุผลในการเลือกใช้เครื่องมือต่างๆ ประมวลผลและแปลความหมาย
3. การนำเสนอโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม
2. ประเมินจากความสามารถในการอธิบายถึงขั้นตอนการเก็บรวบรวมข้อมูล ข้อจำกัด เหตุผลในการเลือกใช้เครื่องมือต่างๆ ประมวลผลและแปลความหมาย
3. การนำเสนอโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม
6. ด้านทักษะปฏิบัติ (ถ้ามี)
1. มีทักษะและความเชี่ยวชาญในการปฏิบัติงานตามมาตรฐานวิชาชีพ สามารถแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบโดยประยุกต์ใช้ความรู้ที่เรียนมา และพัฒนาต่อยอดองค์ความรู้ทางวิชาชีพ
1. มีทักษะและความเชี่ยวชาญในการปฏิบัติงานตามมาตรฐานวิชาชีพ สามารถแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบโดยประยุกต์ใช้ความรู้ที่เรียนมา และพัฒนาต่อยอดองค์ความรู้ทางวิชาชีพ
1. การเรียนการสอนที่หลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
2. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะการปฏิบัติในรายวิชาต่างๆ ให้นักศึกษาได้ปฏิบัติอย่างสม่ำเสมอ
2. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะการปฏิบัติในรายวิชาต่างๆ ให้นักศึกษาได้ปฏิบัติอย่างสม่ำเสมอ
1. ประสิทธิภาพในทักษะการปฏิบัติอย่างถูกต้อง
2. ความสามารถในการตัดสินใจแก้ปัญหาเฉพาะหน้า
3. ความสำเร็จและคุณภาพของผลงาน
2. ความสามารถในการตัดสินใจแก้ปัญหาเฉพาะหน้า
3. ความสำเร็จและคุณภาพของผลงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา | 1. คุณธรรมจริยธรรม | 2. ความรู้ | 3. ทักษะทางปัญญา | 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคลและความรับผิดชอบ | 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ | 6.ด้านทักษะ พิสัย | ||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ลำดับ | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | 1 | 2 | 1 | 2 | 1 | 2 | 3 | 1 | 2 | 1 | 2 | 1 |
1 | BSCAG132 | การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช |
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | 1, 2, 3, 4, 5, 6 และ 7 | การเข้าชั้นเรียน พฤติกรรมในชั้นเรียน และการมีส่วนร่วมในการเสนอความคิดเห็น | 1-8 และ 10-16 | 5% |
2 | 1, 2, 3, 4, 5, 6 และ 7 | ส่งงานตามที่ได้รับมอบหมาย ความรับผิดชอบในการทำงาน | 1-8 และ 10-16 | 15% |
3 | 1 และ 3 | สอบย่อย | 2 และ 4 | 20% |
4 | 2 และ 4 | สอบกลางภาค | 9 | 20% |
5 | 5, 6 และ 7 | สอบปลายภาค | 17-18 | 30% |
6 | 5 และ 6 | ส่งผลงานการฝึกปฏิบัติในห้องปฏิบัติการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ | 16 | 10% |
ธัญญา ทะพิงค์แก. (2554). หลักการขยายพันธุ์พืช. https://facagri.cmru.ac.th/research/subject_file/20210629140015.pdf
เพชรรัตน์ จันทรทิณ. (2556). เอกสารประกอบการสอน วิชา TA 445 เทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชเพื่อ การเกษตร (Plant Tissue Culture for Agricultural Technology). https://qa.bkkthon.ac.th/qa/qa56/420374686.pdf
กรมส่งเสริมการเกษตร. (2559). การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ (พิมพ์ครั้งที่ 1). https://esc.doae.go.th/%E0%B9%80%E0%B8%9E%E0%B8%B2%E0%B8%B0%E0%B9% 80%E0%B8%A5%E0%B8%B5%E0%B9%89%E0%B8%A2%E0%B8%87%E0%B9%80%E0 %B8%99%E0%B8%B7%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B9%80%E0%B8%A2%E0%B8% B7%E0%B9%88%E0%B8%AD/
ณัฏฐากร เสมสันทัด. (2552). คู่มือการฝึกอบรมหลักสูตรการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพันธ์ุไม้ป่า Tissue Culture in Forest Tree.
https://forprod.forest.go.th/forprod/techtransfer/document/%E0%B8%84%E0%B8%B9%E0%B9%88%E0%B8%A1%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%9D%E0%B8%B6%E0%B8%81%E0%B8%AD%E0%B8%9A%E0%B8%A3%E0%B8%A1/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%9E%E0%B8%B1%E0%B8%92%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%9E%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%98%E0%B8%B8%E0%B9%8C%E0%B9%84%E0%B8%A1%E0%B9%89%E0%B8%9B%E0%B9%88%E0%B8%B2/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%80%E0%B8%9E%E0%B8%B2%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B8%B5%E0%B9%89%E0%B8%A2%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%99%E0%B8%B7%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B9%80%E0%B8%A2%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD.pdf
สุดารัตน์ คำผา. (ม.ป.ป). ความหมายและความสำคัญของการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ. http://www.satriwit3.ac.th/files/1211201313292364_15110414141951.pdf
คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่. (ม.ป.ป). บทที่ 4 อาหารเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช (Tissue Culture Media). https://facagri.cmru.ac.th/research/subject_ file/20200622102032.pdf
คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่. (ม.ป.ป). บทที่ 2 หลักการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช. https://facagri.cmru.ac.th/research/subject_file/20200622102010.pdf
โครงการจัดตั้งสถาบันอุทยานธรรมชาติวิทยาสิรีรุกขชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล. (ม.ป.ป). คู่มือปฏิบัติงาน การ เพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชวงศ์ขิง. https://sr.mahidol.ac.th/wp-content/uploads/2024/04/O10- manual-tissue-culture.pdf
เพชรรัตน์ จันทรทิณ. (2556). เอกสารประกอบการสอน วิชา TA 445 เทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชเพื่อ การเกษตร (Plant Tissue Culture for Agricultural Technology). https://qa.bkkthon.ac.th/qa/qa56/420374686.pdf
กรมส่งเสริมการเกษตร. (2559). การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ (พิมพ์ครั้งที่ 1). https://esc.doae.go.th/%E0%B9%80%E0%B8%9E%E0%B8%B2%E0%B8%B0%E0%B9% 80%E0%B8%A5%E0%B8%B5%E0%B9%89%E0%B8%A2%E0%B8%87%E0%B9%80%E0 %B8%99%E0%B8%B7%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B9%80%E0%B8%A2%E0%B8% B7%E0%B9%88%E0%B8%AD/
ณัฏฐากร เสมสันทัด. (2552). คู่มือการฝึกอบรมหลักสูตรการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพันธ์ุไม้ป่า Tissue Culture in Forest Tree.
https://forprod.forest.go.th/forprod/techtransfer/document/%E0%B8%84%E0%B8%B9%E0%B9%88%E0%B8%A1%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%9D%E0%B8%B6%E0%B8%81%E0%B8%AD%E0%B8%9A%E0%B8%A3%E0%B8%A1/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%9E%E0%B8%B1%E0%B8%92%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%9E%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%98%E0%B8%B8%E0%B9%8C%E0%B9%84%E0%B8%A1%E0%B9%89%E0%B8%9B%E0%B9%88%E0%B8%B2/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%80%E0%B8%9E%E0%B8%B2%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B8%B5%E0%B9%89%E0%B8%A2%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%99%E0%B8%B7%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B9%80%E0%B8%A2%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD.pdf
สุดารัตน์ คำผา. (ม.ป.ป). ความหมายและความสำคัญของการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ. http://www.satriwit3.ac.th/files/1211201313292364_15110414141951.pdf
คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่. (ม.ป.ป). บทที่ 4 อาหารเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช (Tissue Culture Media). https://facagri.cmru.ac.th/research/subject_ file/20200622102032.pdf
คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่. (ม.ป.ป). บทที่ 2 หลักการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช. https://facagri.cmru.ac.th/research/subject_file/20200622102010.pdf
โครงการจัดตั้งสถาบันอุทยานธรรมชาติวิทยาสิรีรุกขชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล. (ม.ป.ป). คู่มือปฏิบัติงาน การ เพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชวงศ์ขิง. https://sr.mahidol.ac.th/wp-content/uploads/2024/04/O10- manual-tissue-culture.pdf
- การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
- การสะท้อนแนวคิด จากพฤติกรรมของผู้เรียน การจัดกิจกรรมในและนอกห้องเรียน ซึ่งมีผลต่อการเรียนรู้
- แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
- การสะท้อนแนวคิด จากพฤติกรรมของผู้เรียน การจัดกิจกรรมในและนอกห้องเรียน ซึ่งมีผลต่อการเรียนรู้
- แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
- ผลการสอบย่อย สอบกลางภาคและปลายภาค
- การส่งงานตามที่ได้รับมอบหมายและส่งผลงานการฝึกปฏิบัติในห้องปฏิบัติการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ
- การส่งงานตามที่ได้รับมอบหมายและส่งผลงานการฝึกปฏิบัติในห้องปฏิบัติการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ
- มีการทบทวนความรู้ความเข้าใจท้ายการเรียนการสอน
- อาจารย์ผู้สอนมีการปรับกลยุทธ์และวิธีการสอนให้มีประสิทธิภาพและเหมาะสมมากที่สุดกับกลุ่มผู้เรียน
- อาจารย์ผู้สอนมีการปรับกลยุทธ์และวิธีการสอนให้มีประสิทธิภาพและเหมาะสมมากที่สุดกับกลุ่มผู้เรียน
- มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยการสุ่ม ตรวจข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
- พิจารณาจากผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษา
- ผลการประเมินโดยคณะกรรมการประเมินของสาขาวิชา
- การรายงานรายวิชาโดยอาจารย์ผู้สอน หลังการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา
- อาจารย์ผู้สอนรับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาที่สอนและกลยุทธ์การสอนที่ใช้ และนำเสนอแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาในรายงานรายวิชา เสนอต่อที่ประชุมอาจารย์ประจำหลักสูตรพิจารณาให้ความคิดเห็นและสรุปวางแผนพัฒนาปรับปรุงพร้อมนำเสนอสาขาวิชา/ คณะ เพื่อใช้ในการสอนครั้งต่อไป
- ผลการประเมินโดยคณะกรรมการประเมินของสาขาวิชา
- การรายงานรายวิชาโดยอาจารย์ผู้สอน หลังการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา
- อาจารย์ผู้สอนรับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาที่สอนและกลยุทธ์การสอนที่ใช้ และนำเสนอแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาในรายงานรายวิชา เสนอต่อที่ประชุมอาจารย์ประจำหลักสูตรพิจารณาให้ความคิดเห็นและสรุปวางแผนพัฒนาปรับปรุงพร้อมนำเสนอสาขาวิชา/ คณะ เพื่อใช้ในการสอนครั้งต่อไป