การจัดการธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม

Small and Medium-Sized Business Management

มีความรู้พื้นฐานในด้านการประเมินความพร้อมของตนเอง ในการเป็นผู้ประกอบการ เข้าใจบทบาทและความสำคัญของธุรกิจขนาดย่อม มีความรู้เกี่ยวกับสภาพแวดล้อมที่มีผลกระทบต่อธุรกิจขนาดย่อม มีความรู้เกี่ยวกับรูปแบบของธุรกิจ และวิธีการประกอบธุรกิจขนาดย่อม เข้าใจหลักการบูรณาการศาสตร์ด้านต่าง ๆ เช่น การตลาด การจัดการผลิต การจัดหา เงินทุน ระบบบัญชี การจัดการทรัพยากรมนุษย์ รู้และเข้าใจหลักการและวิธีการเขียนแผนธุรกิจ
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐาน เป็นการเตรียมความพร้อมด้านปัญหาในการนำความรู้ ความเข้าใจในรูปแบบของโครงสร้างองค์การในรูปแบบต่างๆ แนวความคิดหลักการทฤษฎีองค์การต่างๆ ทั้งนี้ ควรมีการเปลี่ยนแปลงตัวอย่างอ้างอิง ให้สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน ที่ได้มีการเปลี่ยนแปลงตามยุคสมัย
ศึกษาเกี่ยวกับลักษณะสำคัญของธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ความท้าทายและประเด็นในการจัดการธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม การเริ่มต้นการประกอบธุรกิจ ประเภทและรูปแบบของธุรกิจ การวางแผนธุรกิจเชิงกลยุทธ์ธุรกิจ แผนธุรกิจ การจัดการตลาด การจัดการทรัพยากรมนุษย์ การจัดการผลิต การจัดการการเงิน การจัดการความเสี่ยง การฝึกปฏิบัติการเขียนแผนธุรกิจขนาดย่อม การฝึกวิเคราะห์ประเด็นเกี่ยวกับการจัดการธุรกิจขนาดกล่างและขนาดย่อมจากกรณีศึกษา
การศึกษาด้วยตนเอง 6  ชั่วโมง ต่อสัปดาห์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 สอบกลางภาค สอบปลายภาค 8/15 25 : 25
2 วิเคราะห์กรณีศึกษาค้นคว้า การนำเสนอ การทำงานกลุ่มและผลงาน การอ่านและสรุปบทความ การส่งงานตามที่มอบหมาย 1-6 10
3 แผนธุรกิจฉบับสมบูรณ์ 10-16 20
4 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน 1-15 10
1.เอกสารประกอบการสอนในรายวิชา
2. จากเวบไซด์
1. เว็ปไซด์สำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม
2. งานวิจัยในพื้นที่ จังหวัดเชียงใหม่
3. กิจกรรมการให้บริการวิชาการในพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่ และพื้นที่ที่เกี่ยวข้อง
ให้นักศึกษาให้คะแนนร่วม แบบ Rubic Score
การสังเกตุ
การสัมภาษณ์
การให้ Feedback 
 
การประเมินโดย
ข้อสอบชนิดเลือกคำตอบ  
ข้อสอบชนิดสร้างคำตอบแบบให้อธิบาย
ข้อสอบแบบปากเปล่า
การนำเสนอแผนธุรกิจรายกลุ่มและรายบุคคล
การประเมินทางพฤติกรรม
ลงมือปฏิบัติจริงด้วยการเรียนรู้โดยใช้โครงงาน (PBL)
การทบทวนการสอน โดย นักศึกษา จากการสะท้อนคิดและให้นักศึกษา มีส่วนร่วมในการวางแผนการสอน
การทบทวนการสอนโดย อาจารย์ที่มิใช่ผู้สอน
การทบทวนการสอน โดย นักศึกษา
ระหว่างการจัดการเรียนการสอน
หลังจากเสร็จสิ้นการจัดการเรียนการสอน