หัวข้อความก้าวล้ำในงานวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

Advanced Topics in Computer Engineering

1. เพื่อศึกษาและฝึกฝนปฎิบัติ ให้สามารถเห็นคุนค่า และตระหนักถึงความจำเป็น 2. สามารถเรียนรู้ทฤษฎีใหม่ๆ แบบจำลองเทคนิค เทคโนโลยี ที่เกี่ยวข้องกับวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ 3. สามารถฝึกปฎิบัติด้วยเครื่องมือและเทคนิคที่พัฒนาระบบคอมพิวเตอร์ และประยุกต์การใช้งานวิจัยสู่ นวัตกรรมใหม่ๆอย่างมืออาชีพ
1ใเพื่อศึกษาและฝึกฝนปฎิบัติ ให้สามารถเห็นคุนค่า และตระหนักถึงความจำเป็น 2.สามมรถที่จะค้องเรียนรู้ทฤษฎีใหม่ๆ แบบจำลองเทคนิค เทคโนโลยี ที่เกี่ยวข้องกับวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ 3.สามารถฝึกปฎิบัติด้วยเครื่องมือและเทคนิคที่พัฒนาระบบคอมพิวเตอร์ และประยุกต์การใช้งานวิจัยสู่ นวัตกรรมใหม่ๆอย่างมืออาชีพ
ศึกษาและฝึกฝนปฎิบัติ ให้สามารถเห็นคุนค่า และตระหนักถึงความจำเป็น ที่จะต้องเรียนรู้ทฤษฎีใหม่ๆ แบบจำลองเทคนิค เทคโนโลยี ที่เกี่ยวข้องกับวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ ฝึกปฎิบัติด้วยเครื่องมือและเทคนิคที่พัฒนาระบบคอมพิวเตอร์ และประยุกต์การใช้งานวิจัยสู่ นวัตกรรมใหม่ๆอย่างมืออาชีพ
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ เคารพในสิทธิของข้อมูลส่วนบุคคล การไม่เปิดเผยข้อมูล การไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ทางซอฟต์แวร์  และไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ทางปัญญา  มีความซื่อสัตย์ในการดูแล จัดการเครือข่าย อย่างมีคุณภาพ  โดยมีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร  ดังนี้ ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื้อสัตย์สุจริต มีวินัย  ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีม และสามารถแก้ไขข้อขัดแย้ง และลำดับความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น  รวมทั้งเคารพในคุณค่า และศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ในหัวข้อก้าวล้ำในงานวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ต่อบุคคลองค์กรและสังคม มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา เกี่ยวกับประเด็นทางจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อก้าวล้ำในงานวิศวกรรมคอมพิวเตอร์  เช่น การลักลอบข้อมูลจากเครือข่ายอินเตอร์เน็ต และการเข้าใช้เครือข่าย โดยมีวัตถุประสงค์ไม่สุจริต หรือจากมิจฉาชีพ การป้องกันตนเอง อภิปรายกลุ่มกำหนดให้นักศึกษาหาตัวอย่างที่เกี่ยวข้อง หรือกำหนดบทบาทสมมุติ
1. พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา 2. มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม 3. ประเมินผลการวิเคราะห์กรณีศึกษา
4 .ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาสาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ 2.1.2 สามารถวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจและอธิบายความต้องการทางคอมพิวเตอร์ รวมทั้งประยุกต์ความรู้ ทักษะ และการใช้เครื่องมือทางคอมพิวเตอร์ที่เหมาะสมกับการแก้ไขปัญหา
2.1.3 ตระหนักถึงความจำเป็น ที่จะต้องเรียนรู้ทฤษฎีใหม่ๆ แบบจำลองเทคนิค เทคโนโลยี ที่เกี่ยวข้องกับวิศวกรรมคอมพิวเตอร์
2.1.3 ฝึกปฎิบัติการด้วยเครื่องมือและเทคนิคที่พัฒนาระบบคอมพิวเตอร์ และประยุกต์การใช้งานวิจัยสู่ นวัตกรรมใหม่ๆอย่างมืออาชีพ
2.2.1 บรรยายหลักการเขียนโปรแกรม และสอนวิธีการเขียนโปรแกรมด้วย ซอฟต์แวร์
2.2.2 บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา ให้นักศึกษาเห็นความสำคัญของรายวิชาเพื่อการประยุกต์ใช้งานทางด้านวิศวกรรมศาสตร์อย่างต่อเนื่อง
2.2.3 อภิปรายกลุ่ม
2.2.4 กำหนดให้นักศึกษาหาตัวอย่างที่เกี่ยวข้อง หรือกำหนดบทบาทสมมุติ
1.3.1   ประเมินจากวินัย และ พฤติกรรมการเข้าเรียนและการส่งงานที่ได้รับมอบหมายตาม ขอบเขตให้ตรงเวลา 1.3.2   ประเมินผลจากคุณภาพของงานทีรับมอบหมาย และมีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม 1.3.3   ปริมาณการกระทำทุจริตในการสอบ
1. คิดอย่างมีวิจารณญาณและอย่างเป็นระบบ
3. 2.1  สอนการคิดอย่างเป็นระเบียบ โดยการยกตัวอย่างจากสภาพต่างๆ
3.2.2  วิเคราะห์ศึกษาการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ เพื่อการออกแบบและเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ โดยการนำทฤษฎีที่เหมาะสมมาใช้ 3.2.3  การสะท้อนแนวคิดจากการประพฤติของนักศึกษา 3.2.4   การมอบให้นักศึกษาทำการวิเคราะห์และเขียนขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหาทางคอมพิวเตอร์และปฎิบัติจริวด้วยการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
3.3.1  สอบย่อย สอบกลางภาคและปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่มีมีความเข้าใจ วิเคราะห์และการประยุกต์ใช้ทฤษฎี 3.3.2  วัดผลจากการนำเสนอผลงานตามที่ได้รับมอบหมาย 3.3.3  สัมภาษณ์ และสังเกตพฤติกรรม การแก้ไขปัญหา
มีความรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและทางวิชาชีพด้านวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ได้อย่างต่อเนื่อง
4.2.1   จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา 4.2.2   มีการมอบหมายงาน และให้ส่งตามกำหนดเวลา
4.3.1  ประเมินจากคุณภาพของงานที่มอบหมาย 4.3.2  ประเมินจากการนำเสนองานกลุ่ม
(1) มีทักษะในการใช้เครื่องมือที่จำเป็นที่มีอยู่ในปัจจุบันต่อการทำงานที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
5.2.1  มอบหมายงานให้นักศึกษาค้นคว้าการณีศึกษาด้วยตนเองจากเว็บไซต์ 5.2.2  อภิปรายในห้องเรียนตามเวลาและจังหวะที่เหมาะสมกับเนื้อหาแต่ละเรื่อง 5.2.3  นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
 
5.3.1  ประเมินจากคุณภาพของงานที่มอบหมาย 5.3.2  ประเมินจากการนำเสนองานกลุ่ม
(1) มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการได้อย่างมีประสิทธิภาพ
          6.2.1   อธิบายและสาธิตการใช้อุปกรณ์ เครื่องมือในการพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์และวิธีการให้เข้าใจและปฏิบัติถูกต้องตามหลักวาการ           6.2.2  มอบหมายให้ลงมือปฏิบัติทดลองตามกำหนดเวลา           6.2.3  ให้มีการแบ่งกลุ่มในการปฏิบัติงาน มีการแบ่งความรับผิดขอบกัน           6.2.4 นำเสนอโดยใช้รูปแบบโจทย์ปัญหาและโทคโนโลยีที่เหมาะสม เพื่อกระตุ้นให้นักศึกษาเกิดความสร้างสรรค์และลงมือเขียนโปรแกรมด้วยใจรัก
6.3.1   สังเกตพฤติกรรมในการปฏิบัติการใช้เครื่องมือ ในเรื่องเวลา วิธีการและผลงานที่ได้รับ การทำงานร่วมกัน  6.3.2  พิจารณาผลการปฏิบัติการทดลอง รวมทั้งงานที่มอบหมาย  6.3.3  สังเกตพฤติกรรมการเขียนโปรแรมและจดบันทึก  6.3.4  พิจารณาผลการปฏบัติงานการเขียนโปรแกรม  6.3.5  ให้คะแนนผลการปฏิบัติงานโปรแกรมต่างๆ โดยเปิดเผย
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรมจริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 5 6 7 1 2 3 4 5 6 7 8 1 2 3 4 6 1 2 3 4 5 1 2 3 4 1 2
1 ENGCE207 หัวข้อความก้าวล้ำในงานวิศวกรรมคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.2, 1.5, 2.1, 2.2, 2.4, 3.1-3.4, 5.2 - สอบกลางภาค - สอบปลายภาค ทดสอบย่อยครั้งที่ 1 ทดสอบย่อยครั้งที่ 2 4,8,12,15 25% ,25% ,10%,10%
2 1.2, 1.5, 2.1, 2.2, 2.4, 3.1-3.4, 4.4-4.6, 5.2 วิเคราะห์กรณีศึกษาค้นคว้า การนำเสนอ รายงาน กรณีศึกษาจากสถานการณ์จริง การทำงานและผลงาน การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 20%
3 1.2 , 1.5, 3.1 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
 
ทีมงานสมาร์ทเลิร์นนิ่ง. เริ่มต้นใช้งานโปรแกรม LabVIEW .กรุงเทพฯ : สมาร์ทเลิร์นนิ่ง, 2554.
มีโชค ตั้งตระกูล. การใช้งาน LabVIEW เบื้องต้น .ขอนแก่น : ม.ป.พ., 2548.
กิจไพบูลย์ ชีวพันธุศรี. การสร้างระบบอัตโนมัติด้วย LabVIEW ร่วมกับระบบ Data acquistion และMachine vision สำหรับผู้เริ่มต้น. กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น, 2557.
กิจไพบูลย์ ชีวพันธุศรี. LabVIEW : ซอฟต์แวร์เพื่อการพัฒนาระบบการวัดและควบคุม. กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น, 2554.