ภูมิสถาปัตยกรรม

Landscape Architecture

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับทฤษฎีหลักการและกระบวนการออกแบบภูมิสถาปัตยกรรม ความรู้ทางพฤกษศาสตร์ นิเวศวิทยาสภาพแวดล้อม การวางผังบริเวณ การจัดองค์ประกอบในงานภูมิสถาปัตยกรรม มีทักษะในการออกแบบเขียนแบบงานภูมิสถาปัตยกรรม
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐาน เตรียมความพร้อมในการนำความรู้ความเข้าใจในงานภูมิสถาปัตยกรรม ที่มีความสัมพันธ์กับวิชาชีพสถาปัตยกรรมผังเมือง สถาปัตยกรรมหลัก สถาปัตยกรรมภายใน และเทคโนโลยีในสถานการณ์ปัจจุบัน เตรียมความพร้อมสู่โลกอนาคต
ศึกษาทฤษฎีทางพฤกษศาสตร์   การปรับและทำระดับ การสัญจร การระบายน้ำ  องค์ประกอบในการตกแต่งสวนบริเวณรอบอาคาร การทำผังบริเวณ  ฝึกปฏิบัติการออกแบบและเขียนแบบภูมิทัศน์
อาจารย์ประจำรายวิชาให้คำปรึกษาผ่านเว็บไซต์กลุ่มวิชาภูมิสถาปัตยกรรม หรือให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
-มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและมีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
-อบรมเรื่องคุณธรรมจริยธรรม จรรยาบรรณในการประกอบวิชาชีพ
-ประเมินผลจากการส่งงานตรงตามเวลา การทำงานที่ได้รับมอบหมายในแต่ละสัปดาห์
-มีความรู้และความเข้าใจทั้งทางด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่เกี่ยวกับภูมิสถาปัตยกรรมศาสตร์ -สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาภูมิสถาปัตยกรรมศาสตร์ -สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษาในภูมิสถาปัตยกรรมกับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
-อธิบายความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวิชาชีพภูมิสถาปัตยกรรม พัฒนาการ ประวัติศาสตร์ในแต่ละยุคสมัย แนวความคิดและทฤษฎี การศึกษาด้านพฤกษศาสตร์ นิเวศวิทยาและสิ่งแวดล้อม -ฝึกออกแบบวางผังบริเวณและจัดองค์ประกอบภูมิทัศน์แข็ง(hardscape)งานภูมิสถาปัตยกรรมขนาดเล็ก -ฝึกออกแบบพืชพันธุ์ไม้(softscape) -ฝึกออกแบบระบบการระบายนำ้ การให้นำ้พืชพันธุ์ไม้ งานออกแบบระบบดวงโคมแสงสว่าง
-ตรวจผลงานที่ได้รับมอบหมายในแต่ละสัปดาห์  -ตรวจความก้าวหน้าและให้คะแนน การส่งงานที่ได้รับมอบหมายในการทำผลงานออกแบบภูมิสถาปัตยกรรมขนาดเล็ก -ประเมินผลงานให้คะแนนขั้นตอนสุดท้ายในการทำโครงการออกแบบภูมิสถาปัตยกรรมขนาดเล็ก
-มีทักษะการปฎิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทางวิชาการหรือวิชาชีพ -มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
-อธิบายเนื้อหาพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา วิเคราะห์ให้เห็นและเข้าใจในงานภูมิสถาปัตยกรรม -ฝึกปฎิบัติตามบทเรียนที่กำหนดให้ในแต่ละสัปดาห์ -ฝึกปฎิบัติออกแบบและเขียนแบบงานภูมิสถาปัตยกรรมขนาดเล็ก
-ประเมินผลจากจากส่งงานตรงต่อเวลาที่กำหนด -ประเมินผลจากคะแนนเก็บจากงานที่มอบหมายตามบทเรียนที่กำหนด -ประเมินผลจากโครงการออกแบบและเขียนแบบภูมิสถาปัตยกรรมขนาดเล็กช่วงสัปดาห์สุดท้าย
-ไม่มี
-ไม่มี
-ไม่มี
-สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
- อธิบายนำเสนอ การสื่อความหมายและเครื่องมือสื่อสารสำหรับงานภูมิสถาปัตยกรรม
-ประเมินผลจากผลงานการนำเสนอแบบและข้อมูลที่ได้มอบหมายในแต่ละบทเรียนที่กำหนด
-มีทักษะในการหาแนวทางปฎิบัติงานได้อย่างถูกต้อง -มีทักษะในการปฎิบัติงานสร้างสรรค์ผลงาน
-อธิบายเนื้อหาหลักการและลงมือฝึกปฎิบัติงานตามเนื้อหาแต่ละสัปดาห์ -อธิบายแนวทางการออกแบบและเขียนแบบพร้อมให้ฝึกทำโครงการออกแบบงานภูมิสถาปัตยกรรม
-ประเมินผลจากผลงานปฎิบัติที่กำหนดในเนื้อหาแต่ละสัปดาห์ -ประเมินผลจากโครงการออกแบบและเขียนแบบงานภูมิสถาปัตยกรรมขนาดเล็กที่เรียนตลอดหลักสูตร
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ความรู้ (Knowledge) 2. ทักษะ (Skills) 3. จริยธรรม (Ethics) 4. ลักษณะบุคคล (Character)
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1. อธิบายหลักการและทฤษฎีพื้นฐาน ที่เกี่ยวข้องกับศาสตร์ทางสถาปัตยกรรม 2. อธิบายและเปรียบเทียบข้อแตกต่างของวิธีการ เครื่องมือ ในการออกแบบและนำเสนอแบบทางสถาปัตยกรรม 3. อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างสังคม และสิ่งแวดล้อมที่ส่งผลต่อการสร้างสรรค์สถาปัตยกรรม 4. อธิบายหลักการ และ กระบวนการคิดเชิงนวัตกรรมในงานออกแบบสถาปัตยกรรม 1. ประยุกต์ใช้หลักการ ทฤษฎีพื้นฐานและหลักการปฏิบัติที่เกี่ยวกับงานสถาปัตยกรรม 2. เลือกใช้วิธีการและเครื่องมือในการนำเสนอแบบสถาปัตยกรรม 3. วิเคราะห์และจำลองอาคารโดยใช้เครื่องมือ เทคโนโลยีโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่เกี่ยวกับงานสถาปัตยกรรม 1. ปฏิบัติตามมาตรฐานและจรรยาบรรณทางวิชาชีพสถาปัตยกรรม 2. ให้ความร่วมมือในทีมงานช่วยเหลือชุมชนและสังคม 1. ปฏิบัติตามวินัยและความรับผิดชอบพื้นฐาน ขยัน อดทน และตรงต่อเวลา
1 BARAT502 ภูมิสถาปัตยกรรม
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ด้านคุณธรรมจริยธรรม -มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและมีความรับชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม -การส่งงานตรงตามเวลาที่กำหนด การเข้าชั้นเรียน ความร่วมมือในกิจกรรมการเรียนการสอน ตลอดภาคการศึกษา 10%
2 ด้านความรู้ -มีความรู้ความเข้าใจทางด้านทฤษฐีและหลักการปฏิบัติทางด้านภูมิสถาปัตยกรรม -สามารถใช้วิชาการและเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้อง -สามารถบูรณาการองค์ความรู้ในศาสตร์ต่างๆมาประยุกต์กับงานภูมิสถาปัตยกรรม สอบกลางภาคและสอบปลายภาค สัปดาห์ที่ 10,สัปดาห์ที่ 17 30%
3 ด้านทักษะทางปัญญา -มีทักษะการปฏิบัติงานการประยุกต์ความรู้ด้านวิชาการสู่ด้านวิชาชีพ -มีทักษะในการนำความรู้มาคิดวิเคราะห์และใช้อย่างเป็นระบบ -สามารถปฏิบัติงานด้านวิชาชีพได้ทั้งทักษะด้านการออกแบบและเขียนแบบภูมิสถาปัตยกรรม -สามารถนำองค์ความรู้และศาสตร์ที่เกี่ยวข้องมาประมวลผลสู่งานวิชาชีอย่างเป็นระบบ ตลอดภาคการศึกษา 50%
4 ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม ตลอดภาคการศึกษา 5%
5 ด้านทักษะพิสัย -มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง -มีทักษะในการปฏิบัติงานสร้างสรรค์ผลงาน ตลอดภาคการศึกษา 5%
-การออกแบบสภาพแวดล้อมและสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับทุกคน,สถาบันสถาปนิกสยาม,สมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปภัมภ์,2552 -ไซมอน การ์เนอร์,พินดา สิทธิสุนทร,วิไลวรรณ อนุสารสุนทร, ต้นไม้เเมืองเหนือ คู่มือศึกษาพรรณไม้ยืนต้นในป่าภาคเหนือประเทศไทย,มูลนิธิโตโยต้าประเทศไทย,โครงการจัดพิมพ์คบไฟ,2543 -เดชา บุญค้ำ.การวางผังบริเวณและงานบริเวณ. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.2557 -ผศ.ดร.ณัฏฐ พิชกรรม,รศ.ดร.อลิศรา มีนะกนิษฐ,รศ.ดร.ศศิยา ศิริพานิช,รศ.ดร.เอื้อมพร วีสมหมาย,พรรณไม้ในงานภูมิสถาปัตยกรรม,กรุงเทพฯ,สำนักพิมพ์ SE-ED,E-BOOK.2013 -Charies W.Harris & Nicholas T.Dines,TIME-SAVER STANDARDS FOR LANDSCAPE ARCHITECTURRE,NY : McGraw-Hill,Inc,1988 -Grant W.Reid,ASLA,FROM CONCEPT TO FORM In Landscape Design, Van Nostrand Reinhold,An International Thomson Publishing Company.,1993 -Gvant W.Reid,FASLA,From Concept to Form in LANDSCAPE DESIGN, Second Edition, Copyrigted Materiat. Amazon book Clubs. -Nation Park Service, MASTER PLAN HANDBOOK, Ministry of Interior, US. govt.,Washington D.C.1964 -Norman K.Booth, BASIC ELEMANTS OF LANDSCAPE ARCHITECTURAL DESIGN. Amazon book Clubs. -Lynch,Kevin,SITE PLANNING,3rd Edition, MIT Press,Cambridge,Mass.1984 -Simonds, John Ormsbee, LANDSCAPE ARCHITECTURE, A MANUAL OF SITE PLANNING AND DESIGN,2 nd Edition, McGraw-Hill Inc.N.Y.1983 -Theodore D. Walker and David A. Davis, PLAN GRAPHICS , Fourth Edition.VAN NOSTRAND REINHOLD,New York,1990
-เดชา บุญค้ำ,การวางผังบริเวณ(site planning),เอกสารประกอบการสอนวิชา 2504321 การวางผังบริเวณ, ภาควิชาภูมิสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,2539 -ศิริชัย หงษ์วิทยากร, ภูมิสถาปัตยกรรมเบื้องต้น เอกสารคำสอน วิชา ภส 121 ,ภาควิชาภูมิทัศน์และอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ,มหาวิทยาลัยแม่โจ้,2543 -ศิริชัย หงษ์วิทยากร ,ประวัติภูมิสถาปัตยกรรม, เอกสารคำสอน วิชา ภส 222 ,ภาควิชาภูมิทัศน์และอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม,มหาวิทยาลัยแม่โจ้,2543 -เอกสารบังคับอ่านประกอบวิชา LA 2504-371 ภูมิสถาปัตยกรรม , ภาควิชาภูมิสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2536
เว๊บไซต์ของสภาสภาปนิกสยาม  https://www.act.or.th
-ไม่มี
-ไม่มี
-ไม่มี
-ไม่มี
-ไม่มี