ปัญหาพิเศษทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร

Special Problems in Food Science and Technology

เมื่อนักศึกษาเรียนรายวิชานี้แล้ว นักศึกษามีสมรรถนะที่ต้องการในด้านต่าง ๆ ดังนี้
1.1 มีความรู้ความเข้าใจในหลักการพื้นฐานด้าน การกำหนดปัญหาและสมมุติฐานของงานวิจัยด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร การสืบค้นข้อมูลงานวิจัยด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหารการวางแผนโครงงานวิจัยการเขียนโครงร่างงานวิจัย ดำเนินการวิจัยทดลองในห้องปฏิบัติการตามโครงร่างงานวิจัย
1.2 สามารถวิเคราะห์และคำนวณ เขียนและสอบป้องกันงานวิจัย และส่งรูปเล่มรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์
1.3 สามารถบูรณาการองค์ความรู้ด้านปัญหาพิเศษทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหารกับองค์ความรู้อื่นในสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหารได้อย่างเหมาะสม
เพื่อพัฒนาปรับปรุงเทคนิควิธีการสอนให้สอดคล้องกับมาตรฐานผลการเรียนรู้ และมีการทวนสอบเพื่อปรับปรุงพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
ฝึกปฏิบัติกำหนดปัญหาและสมมุติฐานของงานวิจัยด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร หรืองานวิจัยด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร การสืบค้นข้อมูลงานวิจัยด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร หรืองานวิจัยด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร การวางแผนโครงงานวิจัยการเขียนโครงร่างงานวิจัย ดำเนินการวิจัยทดลอง ในห้องปฏิบัติการตามโครงร่างงานวิจัยภายใต้คำแนะนำของอาจารย์ที่ปรึกษาปัญหาพิเศษ  การเขียน และสอบป้องกันงานวิจัย และส่งรูปเล่มรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์
ให้คำปรึกษาในวันพุธ เวลา 15.00 – 17.00 น. ห้องพักอาจารย์สาขาอุตสาหกรรมเกษตร
      Line, Facebook, E-mail, phone
    1.1 มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาวิชาชีพ
š1.2 แสดงออกอย่างสม่ำเสมอถึงความซื่อสัตย์สุจริต
˜1.3 มีวินัยและความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    1.4 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
š1.5 เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
1. เข้าชั้นเรียนภาคปฏิบัติไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 และรับฟังข้อชี้แจงต่าง ๆ จาก อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชา
2. ดำเนินงานกิจกรรมที่เกี่ยวข้องภายในเวลาที่กำหนด เช่น การส่งโครงร่าง การนำเสนอ การส่งเล่มสมบูรณ์ และอื่น ๆ
3. มอบหมายให้ปฏิบัติงานทั้งในและนอกเวลาเรียน ภายใต้กฏระเบียบการใช้สถานที่ของสถานศึกษา
4. เข้าพบ อ.ที่ปรึกษา และรับฟังข้อแนะนำ ตามนัดหมาย
1. ตรวจสอบการปฏิบัติงานตลอดภาคเรียน สังเกตการแต่งกาย และมีพฤติกรรมในชั้นเรียนที่เหมาะสม
2. ประเมินความรับผิดชอบในการส่งโครงร่าง การนำเสนอ การส่งเล่มสมบูรณ์ ในเวลาที่กำหนด และประเมินคุณภาพของงานตามข้อกำหนดของคู่มือปัญหาพิเศษ
    2.1 ความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาที่ศึกษา
   ˜2.2 มีความรู้ในสาขาวิชาอื่น ได้แก่ วิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ การบริหารจัดการ การพัฒนาผลิตภัณฑ์ สามารถบูรณาการความรู้ในที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
   ˜2.3 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการ รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาและต่อยอดองค์ความรู้ และมีความรู้ในแนวกว้างของสาขาวิชาที่ศึกษาเพื่อให้เล็งเห็นการเปลี่ยนแปลง และเข้าใจผลกระทบของเทคโนโลยีใหม่ ๆ
   š2.4 รู้กฎระเบียบ ข้อกำหนดทางเทคนิค รวมถึงการปรับเปลี่ยนตามกาลเวลา เพื่อตอบสนองต่อสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป
1. มอบหมายงานค้นคว้าบทความทางวิชาการหรือผลงานวิจัยตีพิมพ์ใหม่ๆ ย้อนหลังไม่เกิน 5 ปี ทั้งในระดับชาติหรือนานาชาติ เพื่อหาแนวทางการทำงานวิจัยหรือปัญหาพิเศษ
2. วางแผนการทำวิจัยร่วมกับอาจารย์ที่ปรึกษาหรือผู้เชี่ยวชาญ โดยอาศัยความรู้ในสาขาวิชาอื่น ๆ บูรณาการ
3. ดำเนินงานวิจัยทางวิทยาศาสตร์ตามที่ได้วางแผน
4. รวบรวม เรียบเรียง ข้อมูลความรู้ที่ได้รับ และจัดทำโครงร่าง หรือรายงานรูปเล่มปัญหาพิเศษหลังสิ้นสุดการทดลอง
1. ประเมินความสมบูรณ์ของโครงร่างหรือเล่มปัญหาพิเศษที่ผ่านอาจารย์ที่ปรึกษาแล้ว
2. ประเมินผลจากการนำเสนอต่อที่ประชุม เช่น การสรุปวิจารณ์ประเด็นปัญหา การตอบข้อซักถามความเข้าใจ การคิดวิเคราะห์สังเคราะห์ การมีเหตุผล และการประยุกต์ใช้
˜3.1 มีความสามารถในการค้นหาข้อเท็จจริง ทำความเข้าใจและประเมินข้อมูลสารสนเทศ แนวคิดและหลักฐานใหม่ ๆ จากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย และใช้ข้อสรุปที่ได้ในการแก้ไขปัญหา หรืองานอื่น ๆ โดยไม่ต้องอาศัยคำแนะนำ
 ˜3.2 สามารถคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ ในการวิเคราะห์ปัญหาที่ซับซ้อน และเสนอแนวทางแก้ไขอย่างสร้างสรรค์
    3.3 สามารถใช้ทักษะและความเข้าใจ ในบริบททางวิชาชีพและวิชาการ เช่น การตรวจวิเคราะห์อาหาร การควบคุมและประกันคุณภาพ การวิจัย และงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
   3.4 มีทักษะในภาคปฏิบัติที่ได้รับการฝึกฝน ตามเนื้อหาสาระสำคัญของสาขาวิชา
สังเคราะห์ข้อมูลจากการวิเคราะห์ แปลผล ตีความหมายของข้อมูล เพื่อหาข้อเท็จจริง สรุป วิจารณ์ประเด็นปัญหาได้จากหลายแหล่งข้อมูล
สามารถสรุปแก้ปัญหาตามหลักฐานทางวิทยาศาสตร์ และวิจารณ์อย่างมีเหตุผล มีความเป็นไปได้
˜4.1 มีความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายทั้งของตนเองเเละรับผิดชอบงานในกลุ่ม
   4.2 สามารถปรับตัวทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำกลุ่มและสมาชิกกลุ่มได้อย่างมีประสิทธิภาพ
   4.3 วางตัวและแสดงความคิดเห็นได้เหมาะสมกับบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบ
 ˜4.4 สามารถวางแผนและรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
1. มอบหมายดำเนินการทดลองเดี่ยวหรือกลุ่ม
2.วางแผนการปฏิบัติงานด้วยตนเอง
1. ดำเนินงานทดลองเสร็จสิ้นในระยะเวลาที่กำหนด
2. ประเมินประสิทธิภาพของผลการดำเนินงานอย่างเหมาะสม
˜ 5.1 สามารถระบุและนำเทคนิคทางสถิติหรือคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง มาใช้ในการวิเคราะห์แปลความหมายและเสนอแนวทางในการแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์
š5.2 สามารถสรุปประเด็น และสื่อสารทั้งการพูดและการเขียน รู้จักเลือกและใช้รูปแบบของการนำเสนอที่เหมาะสมสำหรับเรื่องและผู้ฟังที่แตกต่างกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ
š5.3 สามารถระบุ เข้าถึง และคัดเลือกแหล่งข้อมูลความรู้ที่เกี่ยวข้องกับสาระสำคัญของวิชานั้น ๆ จากแหล่งข้อมูลสารสนเทศทั้งในระดับชาติและนานาชาติ
 š5.4 มีวิจารณญาณในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่เหมาะสม และใช้อย่างสม่ำเสมอเพื่อการรวบรวมข้อมูล แปลความหมายและสื่อสารข้อมูลข่าวสารและแนวความคิด
   5.5 สามารถใช้คอมพิวเตอร์ในการจัดเก็บข้อมูลต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม
   5.6 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี นวัตกรรม และสถานการณ์โลก โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
˜ 5.7 สามารถใช้ภาษาไทยอย่างถูกต้องทั้งภาษาพูดและภาษาเขียน และภาษาอังกฤษ
1. มอบหมายให้สืบค้นงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
2. วิเคราะห์ข้อมูลดิบในทางสถิติด้วยโปรแกรมสำเร็จรูปได้เหมาะสม
3. ให้นำเสนอข้อมูลที่ได้จากการวิเคราะห์สังเคราะห์ทางสถิติ
1. ตรวจสอบความถูกต้องของการวางแผนการทดลองและผลวิเคราะห์ทางสถิติ
2. ประเมินผลการนำเสนอ การสร้างสื่อที่น่าสนใจ เนื้อหาถูกต้อง กระชับ การนำเสนอด้วยกราฟที่เหมาะสม
˜6.1 มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์ และวิธีการรวมถึงความสามารถในการทำงานกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ
1.แบ่งกลุ่มนักศึกษาในภาคปฏิบัติ
2.อธิบายวิธีการปฏิบัติ วิธีการใช้เครื่องมือ อุปกรณ์ที่เหมาะสม และข้อควรระวังใช้การใช้เครื่องมือ
1.การแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ ความสำเร็จของงานตามระยะเวลาที่กำหนด
2. ประเมินทักษะปฏิบัติการใช้เครื่องมือ อุปกรณ์
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรมจริยธรรม 2. ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ 3. ด้านทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา 6. ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ 1.2 แสดงออกอย่างสม่ำเสมอถึงความซื่อสัตย์สุจริต 1.3 มีวินัยและความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม 1.4 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม 1.5 เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น 2.1 ความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาที่ศึกษา 2.2 มีความรู้ในสาขาวิชาอื่น ได้แก่ วิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ การบริหารจัดการ การพัฒนาผลิตภัณฑ์ สามารถบูรณาการความรู้ในที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง 2.3 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการ รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาและต่อยอดองค์ความรู้ และมีความรู้ในแนวกว้างของสาขาวิชาที่ศึกษาเพื่อให้เล็งเห็นการเปลี่ยนแปลง และเข้าใจผลกระทบของเทคโนโลยีใหม่ ๆ 2.4 รู้กฎระเบียบ ข้อกำหนดทางเทคนิค รวมถึงการปรับเปลี่ยนตามกาลเวลา เพื่อตอบสนองต่อสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป 3.1 มีความสามารถในการค้นหาข้อเท็จจริง ทำความเข้าใจและประเมินข้อมูลสารสนเทศ แนวคิดและหลักฐานใหม่ ๆ จากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย และใช้ข้อสรุปที่ได้ในการแก้ไขปัญหา หรืองานอื่น ๆ โดยไม่ต้องอาศัยคำแนะนำ 3.2 สามารถคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ ในการวิเคราะห์ปัญหาที่ซับซ้อน และเสนอแนวทางแก้ไขอย่างสร้างสรรค์ 3.3 สามารถใช้ทักษะและความเข้าใจ ในบริบททางวิชาชีพและวิชาการ เช่น การตรวจวิเคราะห์อาหาร การควบคุมและประกันคุณภาพ การวิจัย และงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง 3.4 มีทักษะในภาคปฏิบัติที่ได้รับการฝึกฝน ตามเนื้อหาสาระสำคัญของสาขาวิชา 4.1 มีความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายทั้งของตนเองเเละรับผิดชอบงานในกลุ่ม 4.2 สามารถปรับตัวทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำกลุ่มและสมาชิกกลุ่มได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4.3 วางตัวและแสดงความคิดเห็นได้เหมาะสมกับบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบ 4.4 สามารถวางแผนและรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง 5.3 สามารถระบุ เข้าถึง และคัดเลือกแหล่งข้อมูลความรู้ที่เกี่ยวข้องกับสาระสำคัญของวิชานั้น ๆ จากแหล่งข้อมูลสารสนเทศทั้งในระดับชาติและนานาชาติ 5.4 มีวิจารณญาณในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่เหมาะสม และใช้อย่างสม่ำเสมอเพื่อการรวบรวมข้อมูล แปลความหมายและสื่อสารข้อมูลข่าวสารและแนวความคิด 5.5 สามารถใช้คอมพิวเตอร์ในการจัดเก็บข้อมูลต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม 5.6 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี นวัตกรรม และสถานการณ์โลก โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 5.7 สามารถใช้ภาษาไทยอย่างถูกต้องทั้งภาษาพูดและภาษาเขียน และภาษาอังกฤษ 5.1 สามารถระบุและนำเทคนิคทางสถิติหรือคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง มาใช้ในการวิเคราะห์แปลความหมายและเสนอแนวทางในการแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์ 5.2 สามารถสรุปประเด็น และสื่อสารทั้งการพูดและการเขียน รู้จักเลือกและใช้รูปแบบของการนำเสนอที่เหมาะสมสำหรับเรื่องและผู้ฟังที่แตกต่างกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ 6.1 มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์ และวิธีการรวมถึงความสามารถในการทำงานกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ
1 BSCFT105 ปัญหาพิเศษทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 สอบการนำเสนอโครงร่างโดยคณะกรรมการสอบปัญหาพิเศษของสาขาฯ สัปดาห์ที่ 2 20% ของคะแนนรวมทั้งหมดของรายวิชา
2 ปฏิบัติการดำเนินการวิจัย รูปเล่มงานปัญหาพิเศษฉบับสมบูรณ์โดยอาจารย์ที่ปรึกษากลุ่มปัญหาพิเศษ ตลอดภาคการศึกษา 60% ของคะแนนทั้งหมดของรายวิชา
3 ความรับผิดชอบในการส่งโครงร่างปัญหาพิเศษ การเข้าชั้นเรียนเพื่อฟังสัมมนาปัญหาพิเศษ ตลอดจนการส่งรูปเล่มปัญหาพิเศษฉบับสมบูรณ์ โดยอาจารย์ที่รับผิดชอบรายวิชา สัปดาห์ที่ 17 20% ของคะแนนทั้งหมดของรายวิชา
หนังสือหรือเอกสารทางวิชาการทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศที่เกี่ยวข้องในด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร
วารสารอาหาร, Journal of Food Science, Journal of Food Technology, Journal of Meat Science
เวปไซด์มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมอาหาร มาตรฐานผลิตภัณฑ์ผลิตภัณฑ์ชุมชน อย. กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ E-learning ของมหาวิทยาลัยต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
E-lerning เนื้อหาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหารของมหาวิทยาลัยต่าง ๆ ทั้งในและต่างประเทศ
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอนและแบบประเมินรายวิชา
1.3 ข้อเสนอแนะผ่านแบบสอบถามในรูปแบบของ google form
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้สอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้จากการสอบนำเสนอปัญหาพิเศษ
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1 การจัดสัมมนาความรู้ใหม่ๆ ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร  การพัฒนาผลิตภัณฑ์
3.2 การแทรกตัวอย่างงานวิจัยที่เกี่ยวข้องในบทเรียน
  3.3 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน ซึ่งเป็นการบรรยายความรู้ความก้าวหน้าทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร  การพัฒนาผลิตภัณฑ์จากวิทยากรภายนอกตามโอกาส
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
 
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 จากผู้ทรงคุณวุฒิและนักศึกษา