พลังงานทดแทน
Renewable Energy
- เพื่อให้ผู้เรียนมีความเข้าใจเกี่ยวกับแหล่งพลังงานทดแทนต่าง ๆ และศักยภาพในการนำมาใช้ในระบบพลังงานที่ยั่งยืน
- เพื่อให้ผู้เรียนสามารถเปรียบเทียบข้อดี ข้อเสีย และความแตกต่างของเทคโนโลยีพลังงานทดแทนกับเทคโนโลยีพลังงานดั้งเดิม
- เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้เชิงลึกเกี่ยวกับเทคโนโลยีพลังงานทดแทนที่สำคัญ เช่น พลังงานแสงอาทิตย์ ลม ชีวมวล และพลังงานน้ำ
- เพื่อให้ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์และเลือกใช้ระบบสำรองพลังงานได้อย่างเหมาะสม
- เพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจนโยบาย กฎหมาย และเศรษฐศาสตร์พลังงานที่เกี่ยวข้องกับพลังงานทดแทน รวมถึงผลกระทบทางเศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อมเข้าใจ
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐาน เป็นการเตรียมความพร้อมด้านปัญหาในการนำความรู้ ความเข้าใจ ในหลักการใช้พลังงานทดแทน เพื่อเป็นพื้นฐานการเรียนในวิชาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ ควรมีการเปลี่ยนแปลงตัวอย่างอ้างอิง ให้สอดคล้องกับแนวโน้มด้านเทคโนโลยีที่ได้มีความก้าวหน้าไปตามยุคสมัย
ศึกษาเกี่ยวกับระบบพลังงานและแหล่งพลังงานทดแทน ศักยภาพพลังงานทดแทนความแตกต่างของเทคโนโลยีพลังงานดั้งเดิมและพลังงานทดแทน เทคโนโลยีพลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานลม พลังงานชีวมวล พลังงานความร้อนใต้พิภพ พลังงานก๊าซชีวภาพ พลังงานน้ำ พลังงานขยะ พลังงานคลื่นเซลล์เชื้อเพลิง ระบบสำรองพลังงาน กฎหมาย ระเบียบและนโยบายด้านพลังงานทดแทน เศรษศาสตร์พลังงาน
6 ชั่วโมง
1.1 คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา
เข้าใจและซาบซึ้งในวัฒนธรรมไทย ตระหนักในคุณค่าของระบบคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และ ซื่อสัตย์สุจริต 1.1.2 มีวินัย ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม 1.1.3 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทางานเป็นหมู่คณะ สามารถแก้ไขข้อขัดแย้งตามลำดับความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ 1.1.4 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ และมีความรับผิดชอบในฐานะผู้ประกอบวิชาชีพ รวมถึงเข้าใจถึงบริบททางสังคมของวิชาชีพวิศวกรรมในแต่ละสาขา ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
เข้าใจและซาบซึ้งในวัฒนธรรมไทย ตระหนักในคุณค่าของระบบคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และ ซื่อสัตย์สุจริต 1.1.2 มีวินัย ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม 1.1.3 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทางานเป็นหมู่คณะ สามารถแก้ไขข้อขัดแย้งตามลำดับความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ 1.1.4 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ และมีความรับผิดชอบในฐานะผู้ประกอบวิชาชีพ รวมถึงเข้าใจถึงบริบททางสังคมของวิชาชีพวิศวกรรมในแต่ละสาขา ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
กำหนดให้มีวัฒนธรรมองค์กร เพื่อเป็นการปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย โดยเน้นการเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลา ตลอดจนการแต่งกายที่เป็นไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัย 1.2.2 นักศึกษาต้องมีความรับผิดชอบโดยในการทำงานกลุ่มนั้น ต้องฝึกให้รู้หน้าที่ของการเป็นผู้นำกลุ่มและการเป็นสมาชิกกลุ่ม มีความซื่อสัตย์โดยต้องไม่กระทำการทุจริตในการสอบหรือลอกการบ้านของผู้อื่น เป็นต้น นอกจากนี้อาจารย์ผู้สอนทุกคนต้องสอดแทรก เรื่องคุณธรรม จริยธรรมในการสอนทุกรายวิชา รวมทั้งมี การจัดกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม เช่น การยกย่องนักศึกษาที่ทำดี ทำประโยชน์แก่ส่วนรวมเสียสละ
1.3.1 ประเมินจากการตรงเวลาของนักศึกษาในภาพเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมายและการร่วมกิจกรรมเน้นให้ความสำคัญในวินัย การตรงต่อเวลาต่องานที่ได้รับมอบหมาย
1.3.2 สอดแทรกความซื่อสัตย์ต่อตนเอง สังคม คุณธรรมและจริยธรรมและปฏิบัติตามกฏระเบียบข้อบังคับขององค์กรและสังคม
1.3.3 การจัดการความรู้โดยแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างกันผ่านกลไกการอภิปรายกลุ่มประเมินจากการมีวินัยและพร้อมเพรียงของนักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร
1.3.3 ปริมาณการกระทำทุจริตในการสอบ
1.3.4 ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
1.3.2 สอดแทรกความซื่อสัตย์ต่อตนเอง สังคม คุณธรรมและจริยธรรมและปฏิบัติตามกฏระเบียบข้อบังคับขององค์กรและสังคม
1.3.3 การจัดการความรู้โดยแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างกันผ่านกลไกการอภิปรายกลุ่มประเมินจากการมีวินัยและพร้อมเพรียงของนักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร
1.3.3 ปริมาณการกระทำทุจริตในการสอบ
1.3.4 ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
ศึกษาเกี่ยวกับระบบพลังงานและแหล่งพลังงานทดแทน ศักยภาพพลังงานทดแทนความแตกต่างของเทคโนโลยีพลังงานดั้งเดิมและพลังงานทดแทน เทคโนโลยีพลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานลม พลังงานชีวมวล พลังงานความร้อนใต้พิภพ พลังงานก๊าซชีวภาพ พลังงานน้ำ พลังงานขยะ พลังงานคลื่นเซลล์เชื้อเพลิง ระบบสำรองพลังงาน กฎหมาย ระเบียบและนโยบายด้านพลังงานทดแทน เศรษศาสตร์พลังงาน
บรรยาย อภิปราย การนำเสนอรายงาน การวิเคราะห์กรณีศึกษา และมอบหมายให้ค้นหาบทความ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง โดยนำมาสรุปและนำเสนอ ให้นักศึกษามีการค้นคว้าเพิ่มเติม เรียนรู้ด้วยตนเองจากข้อมูลของหน่วยงานรัฐบาล จากเว็บไซต์ต่าง ๆ และเอกสารประกอบต่าง ๆ เพื่อให้นักศึกษาสามารถสรุปวิเคราะห์เป็นรายงานด้วยตนเองได้ ทำรายงานเดี่ยว และเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
2.3.1 สอบกลางภาค
2.3.2 สอบปลายภาค
2.3.3 กิจกรรม แบบทดสอบ และนำเสนอและจัดทำรายงาน
2.3.4 กิจกรรม ศึกษาดูงาน หรือสถานประกอบการจริง
2.3.2 สอบปลายภาค
2.3.3 กิจกรรม แบบทดสอบ และนำเสนอและจัดทำรายงาน
2.3.4 กิจกรรม ศึกษาดูงาน หรือสถานประกอบการจริง
พัฒนาความสามารถในการวิเคราะห์ข้อมูลรอบด้าน เพื่อการป้องกันและแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น จากการนำเอาพลังงานทดแทนมาใช้เพื่อลดปัญหาสิ่งแวดล้อมและผลกระทบต่อสังคม ชุมชน
3.2.1 การมอบให้นักศึกษาทำรายงานเกี่ยวกับพลังงานทดแทนในรูปแบบต่างๆ งช
3.2.2 วิเคราะห์กรณีศึกษา ผลกระทบ ข้อดีและข้อเสีย จากพลังงานทดแทนชนิดต่าง ๆ
3.2.3 การสรุปและสะท้อนแนวคิดต่าง ๆ ที่หลากหลาย
3.2.2 วิเคราะห์กรณีศึกษา ผลกระทบ ข้อดีและข้อเสีย จากพลังงานทดแทนชนิดต่าง ๆ
3.2.3 การสรุปและสะท้อนแนวคิดต่าง ๆ ที่หลากหลาย
3.3.1 สอบกลางภาคและปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์
3.3.2 วัดผลจากการทำรายงานเดี่ยว
3.3.2 วัดผลจากการทำรายงานเดี่ยว
4.1.1 พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
4.1.2 พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม
4.1.3 พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเองและมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบตามกำหนดเวลา
4.1.2 พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม
4.1.3 พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเองและมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบตามกำหนดเวลา
4.2.1 จัดกิจกรรมให้นักศึกษามีส่วนร่วมอภิปราย
4.2.2 ถาม ตอบ และมอบหมายงานรายกลุ่มหรือรายบุคคล เช่น ผลกระทบโรงไฟฟ้าแม่เมาะ เขื่อนปากมูล อ่านบทความที่เกี่ยวข้องกับรายวิชา
4.2.3 การนำเสนอรายงาน
4.2.2 ถาม ตอบ และมอบหมายงานรายกลุ่มหรือรายบุคคล เช่น ผลกระทบโรงไฟฟ้าแม่เมาะ เขื่อนปากมูล อ่านบทความที่เกี่ยวข้องกับรายวิชา
4.2.3 การนำเสนอรายงาน
4.3.1 คะแนนจากกิจกรรม แบบทดสอบในชั้นเรียน
4.3.2 ประเมินจากการมีส่วนร่วมในกระดานเสวนา
4.3.3 ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง
4.3.2 ประเมินจากการมีส่วนร่วมในกระดานเสวนา
4.3.3 ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง
5.1.1 ทักษะการคิดคำนวณ เชิงตัวเลข โดยใช้แบบทดสอบ สูตรการคำนวณต่าง ๆ
5.1.2 พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การเขียน โดยการทำรายงาน และนำเสนอใน ชั้นเรียน
5.1.3 พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลจากกรณีศึกษา จากกการค้นคว้าข่าวสารต่าง ๆ
5.1.4 พัฒนาทักษะในการสืบค้น ข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
5.1.5 ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสารในการเสริมการสอน และกิจกรรมต่าง ๆ ร่วมกัน เช่นกระดานเสวนา
5.1.6 ทักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบเทคโนโลยีที่เหมาะสม เช่น power point
5.1.2 พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การเขียน โดยการทำรายงาน และนำเสนอใน ชั้นเรียน
5.1.3 พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลจากกรณีศึกษา จากกการค้นคว้าข่าวสารต่าง ๆ
5.1.4 พัฒนาทักษะในการสืบค้น ข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
5.1.5 ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสารในการเสริมการสอน และกิจกรรมต่าง ๆ ร่วมกัน เช่นกระดานเสวนา
5.1.6 ทักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบเทคโนโลยีที่เหมาะสม เช่น power point
มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์และทำรายงานโดยเน้นการนำตัวเลข มีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ เช่นเว็ปไซต์องค์กรของรัฐบาล 5.2.2 นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม เช่น power point
5.3.1 ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
5.3.2 ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย หรือกระดานเสวนา
5.3.2 ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย หรือกระดานเสวนา
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา | 123 | มีภาวะความเป็นผู้นําและผู้ตาม สามารถทํางานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและ ลําดับ ความสําคัญ | ||
---|---|---|---|---|
ลำดับ | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพและสังคม | ความรู้ |
1 | ENGEE134 | พลังงานทดแทน |
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | 1.1, 1.2, 1.3, 1.4, 2.1, 2.2, 3.1, 3.2, 4.1, 4.2, 4.3, 4.4, 5.1, 5.2, 5.3, 6.1, 6.2, 6.3 | การเข้าชั้นเรียน การส่งรายงานตรงเวลา การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน | 1-15 | 100 |
2 | การมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน | 1-17 | ||
3 | การทดสอบย่อย | 1,4,6,9,11,13,15 | 30 | |
4 | การสอบกลางภาค | 7 | 30 | |
5 | การนำเสนองาน/การรายงาน | 7-15 | 20 | |
6 | การสอบปลายภาค | 17 | 20 |
ไตรรัตน์ ปะทิ .2564 , เอกสารประกอบการสอนวิชาเทคโนโลยีพลังงานทดแทน. มทร.ล้านนา
อกสารเผยแพร่ความรู้ด้านพลังงานทดแทนจากองค์กรภาครัฐและเอกชนทั้งในละต่างประเทศ
อรุตร จำลองกุล. 2545. พลังงานหมุนเวียน. โอ. เอส. พริ้นติ้ง เฮ้าส์. กรุงเทพฯ. ประเทศไทย.
อกสารเผยแพร่ความรู้ด้านพลังงานทดแทนจากองค์กรภาครัฐและเอกชนทั้งในละต่างประเทศ
อรุตร จำลองกุล. 2545. พลังงานหมุนเวียน. โอ. เอส. พริ้นติ้ง เฮ้าส์. กรุงเทพฯ. ประเทศไทย.
ไตรรัตน์ ปะทิ .2564 , เอกสารประกอบการสอนวิชาเทคโนโลยีพลังงานทดแทน. มทร.ล้านนา
เวปไซด์ด้านพลังงานทดแทน
เวปไซด์กระทรวงพลังงาน
เวปไซด์กระทรวงพลังงาน
1.1การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
1.3ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
1.2แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
1.3ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้ 4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร 4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
ากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้ 5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ