การควบคุมแบบฟัซซี
Fuzzy Logic Control
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับทฤษฏีของฟัซซี ฟัซซีเซ็ท ความส้มพับธ์แบบฟัซซี ตรรกะฟัซซีและการหาเหตุผลอย่างประมาณ การประยุกตใช้ทฤษฏีฟัซซี แบบจำลองฟัซซี การแปลงค่าเป็นสมาชิกฟัซซี (Fuzzify) กฎฟัซซี การแปลงค่าสมาชิกฟัซซีเป็บค่าใช้งาน (Defuzzify) การควบคุมและการประยุกตใช้งาบฟัซซี
-ยังไม่มีการปรับปรุง-
ทฤษฏีของฟัซซี ฟัซซีเซ็ท ความส้มพับธ์แบบฟัซซี ตรรกะฟัซซีและการหาเหตุผลอย่างประมาณ การประยุกตใช้ทฤษฏีฟัซซี แบบจำลองฟัซซี การแปลงค่าเป็นสมาชิกฟัซซี (Fuzzify) กฎฟัซซี การแปลงค่าสมาชิกฟัซซีเป็บค่าใช้งาน (Defuzzify) การควบคุมและการประยุกตใช้งาบฟัซซี
Study of fuzzy theory; fuzzy sets; fuzzy relations; fuzzy logic and reasoning; fuzzy theory applications; fuzzy models; fuzzification; fuzzy rules; fuzzy membership; defuzzify; fuzzy control and its applications
Study of fuzzy theory; fuzzy sets; fuzzy relations; fuzzy logic and reasoning; fuzzy theory applications; fuzzy models; fuzzification; fuzzy rules; fuzzy membership; defuzzify; fuzzy control and its applications
ตามความต้องการของนักศึกษาเฉพาะราย
นักศึกษาต้องมีคุณธรรม จริยธรรมเพื่อให้สามารถดำเนินชีวิตร่วมกับผู้อื่นในสังคมอย่างราบรื่นและเป็นประโยชน์ต่อส่วนรวม อาจารย์ที่สอนในแต่ละวิชาต้องพยายามสอดแทรกเรื่องที่เกี่ยวกับสิ่งต่อไปนี้ เพื่อให้นักศึกษาสามารถพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมไปพร้อมกับวิทยาการต่างๆ ที่ศึกษา
1.1.2 มีวินัย ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม (จุดดำ)
1.1.3 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นหมู่คณะ สามารถแก้ไขข้อขัดแย้งตามลำดับความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ (จุดโปร่ง)
1.1.2 มีวินัย ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม (จุดดำ)
1.1.3 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นหมู่คณะ สามารถแก้ไขข้อขัดแย้งตามลำดับความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ (จุดโปร่ง)
สอนสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม และความเสียสละ ก่อน หลังหรือระหว่างการบรรยายเนื้อหาทางวิชาการ
นำกฎเกณฑ์เกี่ยวกับเวลาในการเข้าเรียน การแต่งกายตามระเบียบของมหาวิทยาลัยราชมงคลล้านนามาบังคับใช้ โดยให้นักศึกษาถือปฏิบัติอย่างเคร่งครัด(จุดดำ)
นำตัวอย่างกรณีศึกษาในเรื่อง คุณธรรม จริยธรรม ความเสียสละและความซื่อสัตย์สุจริตมาให้นักศึกษาอภิปรายเป็นรายกลุ่ม พร้อมตอบข้อซักถามของอาจารย์ผู้สอน
นำตัวอย่างกรณีศึกษาในเรื่อง คุณธรรม จริยธรรม ความเสียสละและความซื่อสัตย์สุจริตมาให้นักศึกษาอภิปรายเป็นรายกลุ่ม พร้อมตอบข้อซักถามของอาจารย์ผู้สอน
1.3.1 ประเมินจากการสังเกตพฤติกรรมการแต่งตัว ความตรงต่อเวลาในการเข้าชั้นเรียนและการส่งงานที่ได้รับมอบหมาย
1.3.2 ประเมินจาก ผลจากคุณภาพของงานทีได้รับมอบหมาย และมีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
1.3.2 ประเมินจาก ผลจากคุณภาพของงานทีได้รับมอบหมาย และมีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
นักศึกษาด้องมีความรู้เกี่ยวกับสาขาวิศวกรรมเเมคาทรอนิกส์ มีคุณธรรม จริยธรรม และความรู้เกี่ยวกับสาขาวิชาที่ศึกษานั้นต้องเป็นสิ่งที่นักศึกษาต้องรู้เพื่อใช้ประกอบอาชีพและช่วยพัฒนาสังคม ดังนั้นมาตรฐานความรู้ต้องครอบคลุมสิ่งต่อไปนี้
2.1.2 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการที่สำคัญ ทั้งในเชิงทฤษฎีและปฏิบัติในเนื้อหาของสาขาวิชาเฉพาะด้านทางวิศวกรรม (จุดดำ)
2.1.4 สามารถวิเคราะห์และแก้ไขปัญหา ด้วยวิธีการที่เหมาะสม รวมถึงการประยุกต์ใช้เครื่องมือที่เหมาะสม (จุดโปร่ง)
2.1.2 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการที่สำคัญ ทั้งในเชิงทฤษฎีและปฏิบัติในเนื้อหาของสาขาวิชาเฉพาะด้านทางวิศวกรรม (จุดดำ)
2.1.4 สามารถวิเคราะห์และแก้ไขปัญหา ด้วยวิธีการที่เหมาะสม รวมถึงการประยุกต์ใช้เครื่องมือที่เหมาะสม (จุดโปร่ง)
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | 1.1.2,4.1.3 | 1) ประเมินจากการสังเกตพฤติกรรมการแต่งตัว ความตรงต่อเวลาในการเข้าชั้นเรียนและการส่งงานที่ได้รับมอบหมาย 2) ประเมินจาก การอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม 3) ประเมินจาก ปริมาณการกระทำทุจริต ในด้านการส่งงาน การนำเสนอผลงานและการสอบของนักศึกษา | ตลอดภาคการศึกษา | 20% |
2 | 2.1.2,2.1.4 | 1) ทดสอบย่อยครั้งที่ 1 2) สอบกลางภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นหลักการและทฤษฎี 3) ทดสอบย่อยครั้งที่ 2 4) สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นข้อสอบที่มีมีความเข้าใจ วิเคราะห์และการประยุกต์ใช้ทฤษฎี | 4 8 12 17 | 5% 20% 5% 20% |
3 | 3.1.1,5.1.1, 6.1.1 | 1) วัดผลจากทักษะในการลงมือปฏิบัติตามใบงานตามที่ได้รับมอบหมายและคุณภาพของใบงานที่ทำเสร็จแล้ว 2) ประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา ความเข้าใจ วิเคราะห์และการประยุกต์ใช้ทฤษฎีแก้ปัญหาจาก Case Study ที่มอบหมาย (Flip Study) | ตลอดภาคการศึกษา 15 | 20% 10% |
Åström, K. J., & Wittenmark, B. (1995). Adaptive Control (2nd ed.). Addison-Wesley.
Passino, K. M., & Yurkovich, S. (1998). Fuzzy Control (1st ed.). Addison-Wesley.
Sugeno, M. (1985). Industrial Applications of Fuzzy Control. Elsevier.
Mamdani, E. H., & Assilian, S. (1975). "An Experiment in Linguistic Synthesis with a Fuzzy Logic Controller," International Journal of Man-Machine Studies, 7(1), 1-13.
Slotine, J. J. E., & Li, W. (1991). Applied Nonlinear Control. Prentice Hall.
เอกสารประกอบการสอนจากอาจารย์ผู้สอน
เว็บไซต์ ในหัวเรื่องที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.2 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.2 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง