ยานยนต์ไฟฟ้า

Electric Vehicle

ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับหลักการทำงานของระบบยานยนต์ไฟฟ้า ประเภทของมอเตอร์ไฟฟ้าและอุปกรณ์ การควบคุมการทำงานของมอเตอร์ อุปกรณ์แบ่งกําลังงาน ชุดเฟืองทดลดรอบ แบตเตอรี่แรงเคลื่อนสูง หน่วยควบคุมกําลังงาน อินเวอร์เตอร์ ระบบระบายความร้อนมอเตอร์และแบตเตอรี่แรงเคลื่อนสูง การเลือกใช้มอเตอร์ การตรวจสอบแก้ไขข้อบกพร่องของอุปกรณ์ส่วนประกอบของยานยนต์ไฟฟ้า
เพื่อให้นักศึกษาหาความรู้สามารถปฏิบัติงานเกี่ยวกับหลักการทำงานของระบบยานยนต์ไฟฟ้า ประเภทของมอเตอร์ไฟฟ้าและอุปกรณ์ การควบคุมการทำงานของมอเตอร์ อุปกรณ์แบ่งกําลังงาน ชุดเฟืองทดลดรอบ แบตเตอรี่แรงเคลื่อนสูง หน่วยควบคุมกําลังงาน อินเวอร์เตอร์ ระบบระบายความร้อนมอเตอร์และแบตเตอรี่แรงเคลื่อนสูง การเลือกใช้มอเตอร์ การตรวจสอบแก้ไขข้อบกพร่องของอุปกรณ์ส่วนประกอบของยานยนต์ไฟฟ้า
ศึกษาเกี่ยวกับ ภาพรวมของยานยนต์สมัยใหม่ การพัฒนาในปัจจุบันและข้อมูลในอดีต  การเติบโตของยานยนต์สมัยใหม่ ประเภทยานยนต์สมัยใหม่ ประเภทพลังงาน การใช้พลังงานร่วมกับยานยนต์สมัยใหม่ ระบบการจัดการพลังงานสำหรับยานยนต์สมัยใหม่   การปลดปล่อยมลพิษ ความปลอดภัยในการใช้ยานยนต์สมัยใหม่มาตรฐานและการทดสอบยานยนต์สมัยใหม่ของแต่ละประเภท ธุรกิจด้านยานยนต์สมัยใหม่ เป็นต้น
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)

 
1.1.1 มีจิตสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม รวมถึงศิลปวัฒนธรรม
1.1.2 มีวินัย ตรงต่อเวลา และปฏิบัติตามระเบียบขององค์กร
1.1.3 มีจรรยาบรรณและความรับผิดชอบทางวิชาการและวิชาชีพ
1.2.1 นักศึกษาต้องเข้าชั้นเรียน และส่งงานที่มอบหมายตามกำหนดเวลา
1.2.2 ชี้แจงวิธีการปฏิบัติในการเรียนการสอน และกฎระเบียบข้อบังคับ
1.2.3 บรรยายเนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับเขียนแบบวิศวกรรมในงานอุตสาหกรรม
1.2.4 มอบหมายงานประจำวิชา ค้นคว้าหาความรู้ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง และรายงาน
1.3.1 การสังเกตพฤติกรรมของผู้เรียน
1.3.2 การทำกิจกรรมนอกชั้นเรียน
1.3.3 การทำงานตามที่ได้รับมอบหมาย
1.3.4 การเข้าชั้นเรียน
1.3.5 การรแสดงความเคารพต่อตนเอง อาจารย์ และสถานที่
มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการทำงานของระบบยานยนต์ไฟฟ้า ระบบระบายความร้อนยานยนต์ไฟฟ้า การตรวจสอบแก้ไขข้อบกพร่องของอุปกรณ์ส่วนประกอบของยานยนต์ไฟฟ้า
2.2.1 บรรยาย อภิบาย ยกตัวอย่าง 
2.2 2 ฝึกปฏิบัติและแก้ไขข้อบกพร่อง ตามใบงานมี่ได้รับมอบหมาย
2.2.3 มีกิจกรรม ประเด็นปัญหาเพื่อการถาม –ตอบในระหว่างการเรียนการสอน
2.3.1 ทดสอบกลางภาคปฏิบัติ และสอบปลายภาคด้วยข้อสอบที่เน้นวัด โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์สถานการณ์ หรือเงื่อนไขการงานของยายนต์ไฟฟ้าที่มีใช้งานอยู่จริง
2.3.2 ประเมินผลจากการปฏิบัติงาน
2.3.3 นำเสนอสรุปผลจากรายงานที่มอบหมาย และการค้นคว้าข้อมูลที่เกี่ยวข้อง
พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างมีการคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์ เพื่อการป้องกันและแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น จากการใช้เทคโนโลยี
3.2.1 แบ่งกลุ่มปฏิบัติตามใบงาน
3.2.2 เขียนใบงานและอภิปรายการปฏิบัติตามกลุ่ม
3.2.3  วิเคราะห์สรุปผลของใบงาน
3.3.1 สอบกลางภาคและปลายภาค(ภาคปฏิบัติ)  โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์สถานการณ์ หรือเงื่อนไขการงานของยายนต์ไฟฟ้าที่มีใช้งานอยู่จริง
3.3.2 วัดผลประเมินผลจากผลการปฏิบัติ
4.1.1   พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
4.1.2   พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม
4.1.3   พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
4.2.1 แบ่งกลุ่มปฏิบัติงานตามใบงาน
4.2.2 อภิปรายสรุปผลการทดลอง
4.3.1   สังเกตการทำงานเป็นกลุ่มของนักศึกษา
4.3.2  ประเมินจากแบบทดสอบในคาบเรียน  พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
4.3.3   ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง 
5.1.1 ทักษะการคิดคำนวณ
5.1.2 พัฒนาทักษะในการใช้เครื่องมือ อุปกรณ์ที่ใช้ในการปฏิบัติตามใบงาน
5.2.1 บรรยายความรู้เบื้องต้นที่จะใช้ในการปฏิบัติตามใบงาน
5.2.2 สาธิตวิธีใช้เครื่องมือที่ใช้ในการปฏิบัติตามใบงานให้นักศึกษาดู
5.3.1 ประเมินจากใบงานการปฏิบัติ
5.3.2 สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาขณะฝึกปฏิบัติ
6.1.1 มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการได้อย่างมีประสิทธิภาพ
6.1.2 มีทักษะในการปฏิบัติงานกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ และมีความร่วมมือกันเป็นอย่างดี
6.2.1 ปฏิบัติตามใบงานที่ได้รับมอบหมาย
6.2.2 มอบหมายงานกลุ่ม และรายบุคคล การนำส่งผลงาน
6.3.1 ตรวจผลการสอบกลางภาคปฏิบัติและสอบปลายภาค
6.3.2  สังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติงานและการแก้ไขปัญหารวมถึงการทางานกลุ่ม
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ความรู้ 2. ทักษะ 3. จริยธรรม 4. ลักษณะบุคคล
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4
1 ENGAE010 ยานยนต์ไฟฟ้า
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.3.1,3.3.1 สอบกลางภาคเรียน สอบปลายภาคเรียน 8 16 20% 20%
2 2.3.1,3.3.2 6.3.1,6.3.2 การฝึกปฏิบัติ จากใบงาน ตลอดภาคการศึกษา 50%
3 1.3.1 การเข้าชั้นเรียน การตรงต่อเวลา ตลอดภาคการศึกษา 10%
คู่มือปฏิบัติงานใบงานวิชายานยนต์ไฟฟ้า หลักสูตรยานยนต์สมัยใหม่ สาขาวิศวกรรมและเทคโนโลยี คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง
ไม่มี
3.1 เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เช่น Wikipedia คำอธิบายศัพท์
3.2 เว็บไซต์ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เกี่ยวกับยานยนต์ไฟฟ้า
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
1.3 ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด  ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือ
ผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์
ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ