ปฏิบัติการเฉพาะหน่วย
Unit Operations
1. มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการ ทฤษฎี และการทำงานของหน่วยปฏิบัติการในอุตสาหกรรม
2. สามารถปฏิบัติการทดลองเกี่ยวกับกระบวนการแยกสารต่างๆ ได้แก่ - การแยกเชิงกลสำหรับของแข็งและของเหลว - การตกผลึก - การกรองและการแยกด้วยเมมเบรน - การระเหย - การกลั่น - การสกัด - การชะล้าง - การดูดซับ - การดูดซึม - การแลกเปลี่ยนไอออน
3. สามารถใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ในห้องปฏิบัติการได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย
4. สามารถคำนวณ วิเคราะห์ และแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในกระบวนการแยกสารแต่ละประเภทได้
5. สามารถเลือกใช้หน่วยปฏิบัติการที่เหมาะสมกับลักษณะงานในอุตสาหกรรม
6. สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นและมีความรับผิดชอบในการปฏิบัติงาน
7. มีทักษะในการสื่อสาร การนำเสนอผลการทดลอง และการเขียนรายงานปฏิบัติการ
8. มีจิตสำนึกด้านความปลอดภัยและการรักษาสิ่งแวดล้อมในการปฏิบัติงาน
9. สามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการแก้ปัญหาและพัฒนากระบวนการผลิตในอุตสาหกรรม
10. มีเจตคติที่ดีต่อวิชาชีพและจรรยาบรรณในการปฏิบัติงาน
2. สามารถปฏิบัติการทดลองเกี่ยวกับกระบวนการแยกสารต่างๆ ได้แก่ - การแยกเชิงกลสำหรับของแข็งและของเหลว - การตกผลึก - การกรองและการแยกด้วยเมมเบรน - การระเหย - การกลั่น - การสกัด - การชะล้าง - การดูดซับ - การดูดซึม - การแลกเปลี่ยนไอออน
3. สามารถใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ในห้องปฏิบัติการได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย
4. สามารถคำนวณ วิเคราะห์ และแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในกระบวนการแยกสารแต่ละประเภทได้
5. สามารถเลือกใช้หน่วยปฏิบัติการที่เหมาะสมกับลักษณะงานในอุตสาหกรรม
6. สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นและมีความรับผิดชอบในการปฏิบัติงาน
7. มีทักษะในการสื่อสาร การนำเสนอผลการทดลอง และการเขียนรายงานปฏิบัติการ
8. มีจิตสำนึกด้านความปลอดภัยและการรักษาสิ่งแวดล้อมในการปฏิบัติงาน
9. สามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการแก้ปัญหาและพัฒนากระบวนการผลิตในอุตสาหกรรม
10. มีเจตคติที่ดีต่อวิชาชีพและจรรยาบรรณในการปฏิบัติงาน
1. เพื่อปรับปรุงเนื้อหารายวิชาให้มีความทันสมัย สอดคล้องกับเทคโนโลยีและนวัตกรรมในปัจจุบันของหน่วยปฏิบัติการในอุตสาหกรรม
2. เพื่อพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น โดย: - เพิ่มการใช้สื่อการสอนที่ทันสมัย - บูรณาการเทคโนโลยีดิจิทัลในการเรียนการสอน - เพิ่มกรณีศึกษาจากสถานประกอบการจริง
3. เพื่อปรับปรุงเนื้อหาการปฏิบัติการให้สอดคล้องกับความต้องการของภาคอุตสาหกรรม และเพิ่มทักษะที่จำเป็นในการทำงานจริง
4. เพื่อพัฒนาระบบการวัดและประเมินผลให้ครอบคลุมทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติ สามารถวัดผลลัพธ์การเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5. เพื่อเพิ่มการเชื่อมโยงระหว่างทฤษฎีและการประยุกต์ใช้งานจริงในอุตสาหกรรม ผ่านการศึกษาดูงานและการเรียนรู้จากผู้เชี่ยวชาญในอุตสาหกรรม
6. เพื่อปรับปรุงเอกสารประกอบการสอนและคู่มือปฏิบัติการให้มีความชัดเจน เข้าใจง่าย และทันสมัย
7. เพื่อพัฒนากิจกรรมการเรียนการสอนที่ส่งเสริมทักษะการคิดวิเคราะห์ การแก้ปัญหา และการทำงานเป็นทีม
8. เพื่อเพิ่มการบูรณาการด้านความปลอดภัยและการคำนึงถึงสิ่งแวดล้อมในการปฏิบัติการทางอุตสาหกรรม
9. เพื่อพัฒนาการจัดการเรียนการสอนให้รองรับทั้งรูปแบบ on-site และ online learning ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
10. เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือกับภาคอุตสาหกรรมในการพัฒนาเนื้อหาและกิจกรรมการเรียนการสอน
2. เพื่อพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น โดย: - เพิ่มการใช้สื่อการสอนที่ทันสมัย - บูรณาการเทคโนโลยีดิจิทัลในการเรียนการสอน - เพิ่มกรณีศึกษาจากสถานประกอบการจริง
3. เพื่อปรับปรุงเนื้อหาการปฏิบัติการให้สอดคล้องกับความต้องการของภาคอุตสาหกรรม และเพิ่มทักษะที่จำเป็นในการทำงานจริง
4. เพื่อพัฒนาระบบการวัดและประเมินผลให้ครอบคลุมทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติ สามารถวัดผลลัพธ์การเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5. เพื่อเพิ่มการเชื่อมโยงระหว่างทฤษฎีและการประยุกต์ใช้งานจริงในอุตสาหกรรม ผ่านการศึกษาดูงานและการเรียนรู้จากผู้เชี่ยวชาญในอุตสาหกรรม
6. เพื่อปรับปรุงเอกสารประกอบการสอนและคู่มือปฏิบัติการให้มีความชัดเจน เข้าใจง่าย และทันสมัย
7. เพื่อพัฒนากิจกรรมการเรียนการสอนที่ส่งเสริมทักษะการคิดวิเคราะห์ การแก้ปัญหา และการทำงานเป็นทีม
8. เพื่อเพิ่มการบูรณาการด้านความปลอดภัยและการคำนึงถึงสิ่งแวดล้อมในการปฏิบัติการทางอุตสาหกรรม
9. เพื่อพัฒนาการจัดการเรียนการสอนให้รองรับทั้งรูปแบบ on-site และ online learning ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
10. เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือกับภาคอุตสาหกรรมในการพัฒนาเนื้อหาและกิจกรรมการเรียนการสอน
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับหน่วยปฏิบัติการในอุตสาหกรรม การแยกเชิงกลสำหรับของแข็งและของเหลว การตกผลึก การกรองและการแยกด้วยเมมเบรน การระเหย การกลั่น การสกัด การชะล้าง การดูดซับ การดูดซึม และการแลกเปลี่ยนไออน
1
นักศึกษาต้องมีคุณธรรม จริยธรรมเพื่อให้สามารถดำเนินชีวิตร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างราบรื่น และประพฤติตนโดยคำนึงถึงประโยชน์ของส่วนรวม อาจารย์ที่สอนในแต่ละรายวิชา ต้องส่งเสริมให้นักศึกษาสามารถพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมไปพร้อมกับวิทยาการต่าง ๆ ดังนี้
มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม เคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
นอกจากนั้น ยังมีรายวิชาส่งเสริมสนับสนุนให้นักศึกษามีการพัฒนาจริยธรรมและจรรยาวิชาชีพ เช่น วิชาการพัฒนาทักษะชีวิตและสังคม วิชาภาษาอังกฤษเพื่อทักษะการทำงาน และวิชาศิลปะการใช้ชีวิต ซึ่งอาจารย์ผู้สอนสามารถสอดแทรกเนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับจรรยาวิชาชีพ และสามารถจัดให้มีการวัดผลแบบมาตรฐานในด้านคุณธรรม จริยธรรมทุกภาคการศึกษา ด้วยการสังเกตพฤติกรรมระหว่างการทำกิจกรรม และมีการกำหนดคะแนนในเรื่องคุณธรรม จริยธรรมให้เป็นส่วนหนึ่งของคะแนนจิตพิสัยในชั้นเรียน นักศึกษาที่คะแนนความประพฤติไม่ผ่านเกณฑ์อาจต้องทำกิจกรรมเพื่อสังคมเพิ่มก่อนจบการศึกษา
มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม เคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
นอกจากนั้น ยังมีรายวิชาส่งเสริมสนับสนุนให้นักศึกษามีการพัฒนาจริยธรรมและจรรยาวิชาชีพ เช่น วิชาการพัฒนาทักษะชีวิตและสังคม วิชาภาษาอังกฤษเพื่อทักษะการทำงาน และวิชาศิลปะการใช้ชีวิต ซึ่งอาจารย์ผู้สอนสามารถสอดแทรกเนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับจรรยาวิชาชีพ และสามารถจัดให้มีการวัดผลแบบมาตรฐานในด้านคุณธรรม จริยธรรมทุกภาคการศึกษา ด้วยการสังเกตพฤติกรรมระหว่างการทำกิจกรรม และมีการกำหนดคะแนนในเรื่องคุณธรรม จริยธรรมให้เป็นส่วนหนึ่งของคะแนนจิตพิสัยในชั้นเรียน นักศึกษาที่คะแนนความประพฤติไม่ผ่านเกณฑ์อาจต้องทำกิจกรรมเพื่อสังคมเพิ่มก่อนจบการศึกษา
กำหนดให้มีวัฒนธรรมองค์กรเพื่อเป็นการปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย โดยเน้นการเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลา ตลอดจนการแต่งกายที่เป็นไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัยฯ นอกจากนี้ ผู้สอนต้องสอดแทรกและส่งเสริมด้านคุณธรรม จริยธรรมในทุกรายวิชา และส่งเสริมให้นักศึกษามีจิตสาธารณะ สนับสนุนให้นักศึกษาเข้าร่วมในการให้บริการวิชาการและวิชาชีพแก่สังคม ปลูกฝังจิตสำนึกในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ยกย่องและเชิดชูนักศึกษาที่ทำความดีและเสียสละ
ประเมินจากการสังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาและการปฏิบัติตนในด้านต่าง ๆ ได้แก่
การตรงเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลา ที่มอบหมาย และการเข้าร่วมกิจกรรม ความมีวินัยและความใส่ใจของนักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร ความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย ความซื่อสัตย์สุจริตในการทำงานที่ได้รับมอบหมายและการสอบ
การตรงเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลา ที่มอบหมาย และการเข้าร่วมกิจกรรม ความมีวินัยและความใส่ใจของนักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร ความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย ความซื่อสัตย์สุจริตในการทำงานที่ได้รับมอบหมายและการสอบ
นักศึกษาต้องมีความรู้เกี่ยวกับเนื้อหาสาระของรายวิชาที่ศึกษาซึ่งประกอบกันขึ้น เป็นองค์ความรู้ที่จะพัฒนาความสามารถและทักษะอันเป็นสิ่งที่นักศึกษาต้องรู้และเข้าใจ ดังนั้นมาตรฐานความรู้ต้องครอบคลุมสิ่งต่อไปนี้
มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฏีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา สามารถติดตามความก้าวหน้า ใฝ่รู้ ทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชา ที่ศึกษา สามารถบูรณาการความรู้ทางวิชาชีพกับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
การทดสอบผลการเรียนรู้ตามมาตรฐานนี้สามารถทำได้โดยการใช้ข้อสอบวัดผลในรายวิชาที่เรียนทั้งการทดสอบภาคทฤษฎีและปฏิบัติตลอดระยะเวลาของหลักสูตร
มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฏีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา สามารถติดตามความก้าวหน้า ใฝ่รู้ ทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชา ที่ศึกษา สามารถบูรณาการความรู้ทางวิชาชีพกับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
การทดสอบผลการเรียนรู้ตามมาตรฐานนี้สามารถทำได้โดยการใช้ข้อสอบวัดผลในรายวิชาที่เรียนทั้งการทดสอบภาคทฤษฎีและปฏิบัติตลอดระยะเวลาของหลักสูตร
ใช้รูปแบบการเรียนการสอนที่หลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ใช้การบูรณาการการเรียนการสอนกับการทำงาน (Work-Integrated Learning : WiL) CDIO :(Conceiving - Designing
-Implementing –Operating) โดยมุ่งเน้นทั้งหลักการทางทฤษฎี และการประยุกต์ใช้ความรู้ในการปฎิบัติในสภาพแวดล้อมจริงและให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี จัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริงโดยการศึกษาดูงาน หรือเชิญผู้เชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์ตรงมาเป็นวิทยากรพิเศษเฉพาะเรื่อง ทั้งนี้ ให้เป็นไปตามลักษณะของรายวิชา และเนื้อหาสาระของรายวิชานั้น ๆ
ประเมินจากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและการปฏิบัติของนักศึกษา โดยใช้การวัดผล ดังนี้
การทดสอบย่อย การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน รายงานที่นักศึกษาจัดทำ งานที่ได้มอบหมาย การนำเสนอรายงานในชั้นเรียน แฟ้มสะสมผลงาน
การทดสอบย่อย การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน รายงานที่นักศึกษาจัดทำ งานที่ได้มอบหมาย การนำเสนอรายงานในชั้นเรียน แฟ้มสะสมผลงาน
นักศึกษาสามารถพัฒนาตนเองและประกอบวิชาชีพโดยพึ่งตนเองได้เมื่อจบการศึกษา ดังนั้น นักศึกษาต้องได้รับการพัฒนาทักษะทางปัญญา พร้อมกับคุณธรรม และจริยธรรม โดยกระบวนการเรียนการสอนต้องเน้นให้นักศึกษารู้จักคิดหาเหตุผล เข้าใจที่มาและสาเหตุของปัญหา แนวคิดและวิธีการแก้ปัญหาด้วยตนเอง นักศึกษาที่ผ่านกระบวนการเรียนการสอนด้วยวิธีดังกล่าวต้องมีคุณสมบัติ ดังนี้
(1) มีทักษะในการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
(2) มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญาใช้แนวข้อสอบที่ให้นักศึกษาได้อธิบายแนวคิดและวิธีการแก้ปัญหาโดยการประยุกต์ความรู้ที่เรียนมา หรือให้นักศึกษาเลือกใช้วิชาชีพที่เหมาะสมกับสถานการณ์ที่กำหนดให้
(1) มีทักษะในการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
(2) มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญาใช้แนวข้อสอบที่ให้นักศึกษาได้อธิบายแนวคิดและวิธีการแก้ปัญหาโดยการประยุกต์ความรู้ที่เรียนมา หรือให้นักศึกษาเลือกใช้วิชาชีพที่เหมาะสมกับสถานการณ์ที่กำหนดให้
ใช้การเรียนการสอนที่หลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ และการบูรณาการ
การเรียนการสอนกับการทำงาน (Work-Integrated Learning)/STEM Education มุ่งเน้นให้นักศึกษารู้จักวิเคราะห์องค์ประกอบของสถานการณ์ต่าง ๆ โดยใช้บทบาทสมมติสถานการณ์จำลอง และกรณีศึกษาเพื่อเป็นตัวอย่างให้นักศึกษาได้ฝึกวิเคราะห์แนวทางแก้ไขให้ถูกต้อง
ประเมินตามสภาพจริงจากผลงาน และการปฏิบัติของนักศึกษา เช่น
(1) บทบาทสมมติหรือสถานการณ์จำลอง
(2) การเลือกใช้วิธีการเพื่อแก้ใขปัญหาในบริบทต่างๆ
(3) การนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
(4) การทดสอบโดยใช้แบบทดสอบหรือสัมภาษณ์
หมวดวิชาศึกษาทั่วไป มีความเกี่ยวข้องกับความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล นักศึกษาจึงต้องได้รับการฝึกประสบการณ์เพื่อเรียนรู้การปรับตัวให้เข้ากับบุคคลและกลุ่มบุคคลต่างๆ ดังนั้นผู้สอนต้องแนะนำการวางตัว มารยาทในการเข้าสังคม และทักษะที่เกี่ยวข้องกับความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ดังนี้
มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
การวัดและประเมินผลทำได้โดยการสังเกตจากพฤติกรรมของนักศึกษาในการทำกิจกรรมกลุ่ม ทั้งในและนอกชั้นเรียน และผลสะท้อนกลับจากการฝึกประสบการณ์ต่าง ๆ
มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
การวัดและประเมินผลทำได้โดยการสังเกตจากพฤติกรรมของนักศึกษาในการทำกิจกรรมกลุ่ม ทั้งในและนอกชั้นเรียน และผลสะท้อนกลับจากการฝึกประสบการณ์ต่าง ๆ
ดำเนินการสอนโดยการกำหนดกิจกรรมกลุ่ม การทำงานที่ต้องประสานงานกับผู้อื่น หรือค้นคว้าหาข้อมูลจากการสัมภาษณ์ผู้ที่มีประสบการณ์และประสบความสำเร็จในงานอาชีพ โดยมีความคาดหวังในผลการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล และความสามารถในการรับผิดชอบ ดังนี้
(1) สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี
(2) มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย
(3) สามารถปรับตัวเข้ากับสถานการณ์และวัฒนธรรมองค์กรได้เป็นอย่างดี
(4) มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี
(5) มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม
(6) มีความรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรมของบุคคลที่ติดต่อสื่อสารด้วย และสามารถวางตนได้เหมาะสมกับกาลเทศะ ขนบธรรมเนียมและแนวทางปฏิบัติเฉพาะของแต่ละวัฒนธรรม
ประเมินตามสภาพจริงจากผลงานและการปฏิบัติของนักศึกษา เช่น
พฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษาในการนำเสนอรายงานกลุ่มในชั้นเรียน พฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่าง ๆ
พฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษาในการนำเสนอรายงานกลุ่มในชั้นเรียน พฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่าง ๆ
ในยุคปัจจุบัน เทคโนโลยีสารสนเทศมีความสำคัญในชีวิตประจำวันและการประกอบอาชีพ นักศึกษาต้องมีความรู้และมีทักษะในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อเป็นเครื่องมือในการปฏิบัติงาน
การติดต่อสื่อสารและการพัฒนาตนเอง ดังนั้น นักศึกษาจำเป็นต้องได้รับการพัฒนาทักษะที่เกี่ยวกับการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีไปพร้อมกับคุณธรรม จริยธรรมและความรู้เกี่ยวกับสาขาวิชา ด้วยเหตุนี้ ผู้สอนต้องใช้เทคโนโลยีในการสอนเพื่อฝึกให้นักศึกษามีคุณสมบัติ ดังนี้
เลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารได้เหมาะสม สืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม ใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ ในการสื่อสารได้อย่างถูกต้องตามกาลเทศะและสอดคล้องกับวัฒนธรรมสากล
การวัดและประเมินผลอาจจัดทำในระหว่างการสอนโดยการจัดกิจกรรมให้นักศึกษา ได้ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการศึกษาค้นคว้าข้อมูลเพื่อนำมาเรียบเรียง นำเสนอและอภิปราย แสดงความคิดเห็นในกลุ่ม หรือจัดกิจกรรมให้นักศึกษาใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือในการติดต่อสื่อสาร หรือนำเสนอผลงานต่างๆ
เลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารได้เหมาะสม สืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม ใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ ในการสื่อสารได้อย่างถูกต้องตามกาลเทศะและสอดคล้องกับวัฒนธรรมสากล
การวัดและประเมินผลอาจจัดทำในระหว่างการสอนโดยการจัดกิจกรรมให้นักศึกษา ได้ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการศึกษาค้นคว้าข้อมูลเพื่อนำมาเรียบเรียง นำเสนอและอภิปราย แสดงความคิดเห็นในกลุ่ม หรือจัดกิจกรรมให้นักศึกษาใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือในการติดต่อสื่อสาร หรือนำเสนอผลงานต่างๆ
ดำเนินการสอนด้วยกิจกรรม Active Learning/Flipped Classroom ที่นักศึกษาต้องติดต่อสื่อสาร ค้นคว้าหาข้อมูล และนำเสนอผลจากการค้นคว้าโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ดังนี้
ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือในการติดต่อสื่อสาร ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือในการค้นคว้าหาข้อมูล ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือในการนำเสนอผลงาน ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างถูกต้อง เหมาะสมกับขนบธรรมเนียมปฏิบัติของสังคมแต่ละกลุ่ม
ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือในการติดต่อสื่อสาร ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือในการค้นคว้าหาข้อมูล ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือในการนำเสนอผลงาน ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างถูกต้อง เหมาะสมกับขนบธรรมเนียมปฏิบัติของสังคมแต่ละกลุ่ม
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริงจากผลงาน และการปฏิบัติของนักศึกษา ดังนี้
ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการติดต่อสื่อสาร ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการศึกษาค้นคว้าหาข้อมูล ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนอผลงาน จรรยามารยาทในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างเหมาะสมกับสถานการณ์และวัฒนธรรมสากล
ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการติดต่อสื่อสาร ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการศึกษาค้นคว้าหาข้อมูล ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนอผลงาน จรรยามารยาทในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างเหมาะสมกับสถานการณ์และวัฒนธรรมสากล
การทำงานในสถานประกอบการ หรือการประกอบอาชีพอิสระนั้นไม่ได้ใช้เพียงแค่หลักทฤษฎี แต่ส่วนใหญ่จะเน้นในด้านทักษะทางการปฏิบัติ การใช้ทักษะในการวางแผน การออกแบบ การทดสอบ และการปรับปรุงแก้ไข ซึ่งมีความสำคัญมากในการทำงาน อีกทั้งยังเป็นเครื่องมือที่จำเป็นยิ่งในการพัฒนาตนเองและความก้าวหน้าในตำแหน่งหน้าที่ของบัณฑิต ดังนั้น ในการเรียนการสอนจึงต้องให้ความสำคัญเน้นไปที่การสร้างทักษะการปฏิบัติงานทางด้านวิศวกรรม ดังข้อต่อไปนี้
(1) มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการได้อย่างมีประสิทธิภาพ
(2) มีทักษะในการปฏิบัติงานกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ และมีความร่วมมือกันเป็นอย่างดี
(1) มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการได้อย่างมีประสิทธิภาพ
(2) มีทักษะในการปฏิบัติงานกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ และมีความร่วมมือกันเป็นอย่างดี
ให้ปฏิบัติงานจริง/ทำงานกลุ่ม
สังเกตุ/ทำแบบประเมิน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา | 1. คุณธรรม จริยธรรม | 2. ความรู้ | 3. ด้านทักษะทางปัญญา | 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ | 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ | 6. ด้านทักษะพิสัย | |||||||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ลำดับ | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 3 | 4 | 5 | 1 | 2 | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 1 | 2 |
1 | ENGAG319 | ปฏิบัติการเฉพาะหน่วย |
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | ด้านคุณธรรม จริยธรรม | วิธีการประเมิน: การเข้าชั้นเรียนและการตรงต่อเวลา การส่งงานตามกำหนด การปฏิบัติตามกฎระเบียบห้องปฏิบัติการ การมีความรับผิดชอบต่อกลุ่มในการทำงาน เครื่องมือประเมิน: แบบบันทึกการเข้าเรียน แบบประเมินพฤติกรรม แบบสังเกตการทำงานกลุ่ม | 1 -7, 9-16 | 10% |
2 | ด้านความรู้ | วิธีการประเมิน: การสอบกลางภาค (25%) การสอบปลายภาค (25%) การทดสอบย่อย เครื่องมือประเมิน: ข้อสอบปรนัย ข้อสอบอัตนัย แบบทดสอบย่อย | 8,17 | 50% |
3 | ด้านทักษะทางปัญญา | วิธีการประเมิน: การวิเคราะห์และแก้ปัญหาในปฏิบัติการ การออกแบบการทดลอง การนำเสนอผลการทดลอง เครื่องมือประเมิน: แบบประเมินรายงานปฏิบัติการ แบบประเมินการนำเสนอ แบบประเมินการแก้ปัญหา | 1-7, 9-16 | 20% |
4 | ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ | วิธีการประเมิน: การทำงานเป็นทีมในปฏิบัติการ การมีส่วนร่วมในการอภิปราย ความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย เครื่องมือประเมิน: แบบประเมินการทำงานกลุ่ม แบบสังเกตพฤติกรรม แบบประเมินโดยเพื่อนร่วมชั้น | 1-7,9-16 | 10% |
5 | ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ | วิธีการประเมิน: การคำนวณในปฏิบัติการ การเขียนรายงานปฏิบัติการ การใช้เทคโนโลยีในการนำเสนอ เครื่องมือประเมิน: แบบประเมินการคำนวณ แบบประเมินรายงาน แบบประเมินการนำเสนอ | 1-7, 9 - 16 | 10% |
Unit Operations of Chemical Engineering, McCabe, W.L., Smith, J.C., and Harriott, P., McGraw-Hill
Separation Process Principles, Seader, J.D., Henley, E.J., and Roper, D.K., Wiley
Transport Processes and Separation Process Principles, Geankoplis, C.J., Prentice Hall
Chemical Engineering Design Principles, Practice and Economics of Plant and Process Design, Towler, G. and Sinnott, R., Butterworth-Heinemann
Perry's Chemical Engineers' Handbook, Green, D.W. and Perry, R.H., McGraw-Hill
Handbook of Separation Process Technology, Rousseau, R.W., Wiley
เอกสารประกอบการสอน:
เอกสารประกอบการบรรยาย (Lecture Notes) คู่มือปฏิบัติการ (Laboratory Manual) แบบฝึกหัดและเฉลย (Exercise Sheets and Solutions) กรณีศึกษาจากอุตสาหกรรม (Industrial Case Studies)
เอกสารประกอบการบรรยาย (Lecture Notes) คู่มือปฏิบัติการ (Laboratory Manual) แบบฝึกหัดและเฉลย (Exercise Sheets and Solutions) กรณีศึกษาจากอุตสาหกรรม (Industrial Case Studies)
1. การประเมินโดยแบบสอบถาม
- แบบประเมินการสอนของอาจารย์
- แบบประเมินรายวิชา
- แบบประเมินสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้
- แบบสำรวจความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนการสอน
2. การสะท้อนคิดของนักศึกษา - การเขียนบันทึกสะท้อนคิดหลังการเรียน (Reflection Journal) - การแสดงความคิดเห็นผ่านกล่องแสดงความคิดเห็น - การสะท้อนคิดผ่านระบบออนไลน์ - การเขียนข้อเสนอแนะท้ายรายงานปฏิบัติการ
3. การสนทนากลุ่ม (Focus Group) - การจัดประชุมกลุ่มย่อยระหว่างนักศึกษาและอาจารย์ - การสัมภาษณ์ตัวแทนนักศึกษา - การประชุมร่วมกับตัวแทนห้อง
4. การประเมินผ่านผลงานและพฤติกรรม - การวิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน - การสังเกตพฤติกรรมการเรียนและการมีส่วนร่วม - การประเมินคุณภาพของงานที่ได้รับมอบหมาย - การติดตามความก้าวหน้าในการเรียนรู้
5. การประเมินแบบมีส่วนร่วม - การประเมินตนเอง (Self-assessment) - การประเมินโดยเพื่อนร่วมชั้น (Peer assessment) - การประเมินร่วมกันระหว่างอาจารย์และนักศึกษา
6. การประเมินผ่านช่องทางออนไลน์ - แบบประเมินออนไลน์ - การแสดงความคิดเห็นผ่านระบบ LMS - การสำรวจความคิดเห็นผ่านแพลตฟอร์มดิจิทัล - การรับฟังข้อเสนอแนะผ่านสื่อสังคมออนไลน์
7. การติดตามผลระยะยาว - การติดตามผลการนำความรู้ไปใช้ในวิชาต่อเนื่อง - การสำรวจความคิดเห็นหลังจบการศึกษา - การประเมินผลกระทบต่อการทำงานในอนาคต
8. การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ - การวิเคราะห์ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะ - การสรุปประเด็นปัญหาและแนวทางการปรับปรุง - การจัดทำรายงานผลการประเมิน
9. การนำผลประเมินไปใช้ - การวางแผนปรับปรุงการเรียนการสอน - การพัฒนาสื่อและกิจกรรมการเรียนรู้ - การปรับปรุงเนื้อหาและวิธีการประเมินผล
10. การรายงานผลการประเมิน - การจัดทำรายงานสรุปผลการประเมิน - การนำเสนอผลต่อผู้เกี่ยวข้อง - การเผยแพร่ผลการประเมินแก่นักศึกษา
2. การสะท้อนคิดของนักศึกษา - การเขียนบันทึกสะท้อนคิดหลังการเรียน (Reflection Journal) - การแสดงความคิดเห็นผ่านกล่องแสดงความคิดเห็น - การสะท้อนคิดผ่านระบบออนไลน์ - การเขียนข้อเสนอแนะท้ายรายงานปฏิบัติการ
3. การสนทนากลุ่ม (Focus Group) - การจัดประชุมกลุ่มย่อยระหว่างนักศึกษาและอาจารย์ - การสัมภาษณ์ตัวแทนนักศึกษา - การประชุมร่วมกับตัวแทนห้อง
4. การประเมินผ่านผลงานและพฤติกรรม - การวิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน - การสังเกตพฤติกรรมการเรียนและการมีส่วนร่วม - การประเมินคุณภาพของงานที่ได้รับมอบหมาย - การติดตามความก้าวหน้าในการเรียนรู้
5. การประเมินแบบมีส่วนร่วม - การประเมินตนเอง (Self-assessment) - การประเมินโดยเพื่อนร่วมชั้น (Peer assessment) - การประเมินร่วมกันระหว่างอาจารย์และนักศึกษา
6. การประเมินผ่านช่องทางออนไลน์ - แบบประเมินออนไลน์ - การแสดงความคิดเห็นผ่านระบบ LMS - การสำรวจความคิดเห็นผ่านแพลตฟอร์มดิจิทัล - การรับฟังข้อเสนอแนะผ่านสื่อสังคมออนไลน์
7. การติดตามผลระยะยาว - การติดตามผลการนำความรู้ไปใช้ในวิชาต่อเนื่อง - การสำรวจความคิดเห็นหลังจบการศึกษา - การประเมินผลกระทบต่อการทำงานในอนาคต
8. การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ - การวิเคราะห์ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะ - การสรุปประเด็นปัญหาและแนวทางการปรับปรุง - การจัดทำรายงานผลการประเมิน
9. การนำผลประเมินไปใช้ - การวางแผนปรับปรุงการเรียนการสอน - การพัฒนาสื่อและกิจกรรมการเรียนรู้ - การปรับปรุงเนื้อหาและวิธีการประเมินผล
10. การรายงานผลการประเมิน - การจัดทำรายงานสรุปผลการประเมิน - การนำเสนอผลต่อผู้เกี่ยวข้อง - การเผยแพร่ผลการประเมินแก่นักศึกษา
1. การประเมินด้านทฤษฎี
- การวิเคราะห์ความเข้าใจหลักการพื้นฐานของแต่ละหน่วยปฏิบัติการ
- การประเมินความสามารถในการคำนวณและแก้โจทย์ปัญหา
- การตรวจสอบความเชื่อมโยงระหว่างทฤษฎีและการประยุกต์ใช้จริง
- การวิเคราะห์คุณภาพข้อสอบเชิงคำนวณและการวิเคราะห์
2. การประเมินด้านปฏิบัติการ - การประเมินทักษะการใช้เครื่องมือและอุปกรณ์แต่ละประเภท - การสังเกตการทำงานเป็นทีมในห้องปฏิบัติการ - การวิเคราะห์คุณภาพรายงานปฏิบัติการแต่ละการทดลอง - การประเมินการปฏิบัติตามหลักความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการ
3. การประเมินทักษะเฉพาะด้าน - ความสามารถในการวิเคราะห์ผลการทดลอง - ทักษะการแก้ปัญหาเฉพาะหน้าในระหว่างการทดลอง - ความเข้าใจในการเลือกใช้หน่วยปฏิบัติการที่เหมาะสม - การประยุกต์ใช้ความรู้ในการออกแบบการทดลอง
4. การประเมินด้านการเชื่อมโยงกับอุตสาหกรรม - การวิเคราะห์กรณีศึกษาจากโรงงานอุตสาหกรรม - การประเมินความเข้าใจในการประยุกต์ใช้งานจริง - การติดตามผลการศึกษาดูงาน - การประเมินโครงงานที่เชื่อมโยงกับงานอุตสาหกรรม
5. การประเมินสื่อและอุปกรณ์การสอน - ความเพียงพอและความพร้อมของเครื่องมือในแต่ละการทดลอง - ประสิทธิภาพของคู่มือปฏิบัติการ - ความเหมาะสมของสื่อการสอนในภาคทฤษฎี - การประเมินการใช้เทคโนโลยีในการสอนสาธิต
6. การประเมินด้านความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อม - การตรวจสอบการปฏิบัติตามมาตรฐานความปลอดภัย - การประเมินการจัดการของเสียจากการทดลอง - การสังเกตพฤติกรรมการใช้อุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคล - การประเมินความตระหนักด้านสิ่งแวดล้อม
7. การประเมินผ่านผู้เชี่ยวชาญ - การรับฟังความคิดเห็นจากผู้เชี่ยวชาญในอุตสาหกรรม - การประเมินโดยอาจารย์ผู้ร่วมสอนปฏิบัติการ - การรับฟังข้อเสนอแนะจากเจ้าหน้าที่ห้องปฏิบัติการ - การประเมินจากวิศวกรที่มีประสบการณ์
8. การประเมินผลสัมฤทธิ์เฉพาะด้าน - ความสามารถในการออกแบบการทดลอง - ทักษะการวิเคราะห์และแปลผลข้อมูล - ความสามารถในการแก้ไขปัญหาในกระบวนการแยก - การประยุกต์ใช้ความรู้ในสถานการณ์จริง
2. การประเมินด้านปฏิบัติการ - การประเมินทักษะการใช้เครื่องมือและอุปกรณ์แต่ละประเภท - การสังเกตการทำงานเป็นทีมในห้องปฏิบัติการ - การวิเคราะห์คุณภาพรายงานปฏิบัติการแต่ละการทดลอง - การประเมินการปฏิบัติตามหลักความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการ
3. การประเมินทักษะเฉพาะด้าน - ความสามารถในการวิเคราะห์ผลการทดลอง - ทักษะการแก้ปัญหาเฉพาะหน้าในระหว่างการทดลอง - ความเข้าใจในการเลือกใช้หน่วยปฏิบัติการที่เหมาะสม - การประยุกต์ใช้ความรู้ในการออกแบบการทดลอง
4. การประเมินด้านการเชื่อมโยงกับอุตสาหกรรม - การวิเคราะห์กรณีศึกษาจากโรงงานอุตสาหกรรม - การประเมินความเข้าใจในการประยุกต์ใช้งานจริง - การติดตามผลการศึกษาดูงาน - การประเมินโครงงานที่เชื่อมโยงกับงานอุตสาหกรรม
5. การประเมินสื่อและอุปกรณ์การสอน - ความเพียงพอและความพร้อมของเครื่องมือในแต่ละการทดลอง - ประสิทธิภาพของคู่มือปฏิบัติการ - ความเหมาะสมของสื่อการสอนในภาคทฤษฎี - การประเมินการใช้เทคโนโลยีในการสอนสาธิต
6. การประเมินด้านความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อม - การตรวจสอบการปฏิบัติตามมาตรฐานความปลอดภัย - การประเมินการจัดการของเสียจากการทดลอง - การสังเกตพฤติกรรมการใช้อุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคล - การประเมินความตระหนักด้านสิ่งแวดล้อม
7. การประเมินผ่านผู้เชี่ยวชาญ - การรับฟังความคิดเห็นจากผู้เชี่ยวชาญในอุตสาหกรรม - การประเมินโดยอาจารย์ผู้ร่วมสอนปฏิบัติการ - การรับฟังข้อเสนอแนะจากเจ้าหน้าที่ห้องปฏิบัติการ - การประเมินจากวิศวกรที่มีประสบการณ์
8. การประเมินผลสัมฤทธิ์เฉพาะด้าน - ความสามารถในการออกแบบการทดลอง - ทักษะการวิเคราะห์และแปลผลข้อมูล - ความสามารถในการแก้ไขปัญหาในกระบวนการแยก - การประยุกต์ใช้ความรู้ในสถานการณ์จริง
การปรับปรุงการสอนรายวิชาหน่วยปฏิบัติการในอุตสาหกรรมจะมุ่งเน้นการพัฒนาใน 4 ด้านหลัก ได้แก่ (1) การปรับปรุงเนื้อหาให้ทันสมัยโดยเพิ่มกรณีศึกษาจากอุตสาหกรรมปัจจุบันและเทคโนโลยีใหม่ในการแยกสาร (2) การพัฒนาสื่อการสอนโดยจัดทำวิดีโอสาธิตการทดลอง แบบจำลอง 3 มิติของอุปกรณ์ และการใช้โปรแกรมจำลองกระบวนการเพื่อเสริมความเข้าใจ (3) การปรับปรุงวิธีการสอนโดยเน้นการเรียนรู้แบบ active learning ผ่านการทำโครงงานย่อยที่เชื่อมโยงกับอุตสาหกรรม และการจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนประสบการณ์กับวิศวกรในภาคอุตสาหกรรม และ (4) การพัฒนาระบบประเมินผลให้ครอบคลุมทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติโดยเพิ่มการประเมินทักษะการแก้ปัญหาเฉพาะหน้า การทำงานเป็นทีม และการประยุกต์ใช้ความรู้ในสถานการณ์จริง รวมทั้งนำผลการประเมินมาปรับปรุงการเรียนการสอนอย่างต่อเนื่อง
การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชาหน่วยปฏิบัติการในอุตสาหกรรมจะดำเนินการโดย (1) การตรวจสอบการให้คะแนนจากผู้สอนร่วมและผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก โดยเฉพาะในส่วนของรายงานปฏิบัติการและข้อสอบอัตนัย (2) การวิเคราะห์คุณภาพข้อสอบและการกระจายของเกรดเทียบกับรายวิชาในกลุ่มเดียวกัน (3) การสุ่มตรวจผลการประเมินทักษะปฏิบัติการโดยคณะกรรมการทวนสอบ ซึ่งประกอบด้วยอาจารย์ในสาขาและผู้เชี่ยวชาญจากภาคอุตสาหกรรม (4) การประเมินความสอดคล้องระหว่างวิธีการสอน การวัดผล และผลการเรียนรู้ที่คาดหวังตามมาตรฐาน TQF ทั้ง 5 ด้าน โดยเฉพาะด้านความรู้และทักษะปฏิบัติ (5) การสัมภาษณ์นักศึกษาและการทดสอบความรู้ความเข้าใจในหลักการสำคัญของแต่ละหน่วยปฏิบัติการ และ (6) การติดตามการนำความรู้ไปใช้ในรายวิชาต่อเนื่องและการฝึกงานในอุตสาหกรรม โดยผลการทวนสอบจะถูกนำมาใช้ในการปรับปรุงการเรียนการสอนในภาคการศึกษาถัดไป
การดำเนินการทบทวนและวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชาหน่วยปฏิบัติการในอุตสาหกรรมจะดำเนินการทุกภาคการศึกษา โดย (1) วิเคราะห์ผลการประเมินรายวิชาจากนักศึกษา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และผลการทวนสอบมาตรฐาน เพื่อระบุประเด็นที่ต้องปรับปรุง (2) จัดประชุมทีมผู้สอนร่วมกับผู้เชี่ยวชาญจากภาคอุตสาหกรรมเพื่อปรับปรุงเนื้อหาให้ทันสมัยและสอดคล้องกับเทคโนโลยีการแยกสารในปัจจุบัน (3) พัฒนาสื่อการสอนและปรับปรุงการทดลองให้สอดคล้องกับเครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ในอุตสาหกรรม (4) ปรับปรุงวิธีการวัดและประเมินผลให้ครอบคลุมทั้งความรู้ทฤษฎีและทักษะปฏิบัติ และ (5) จัดทำแผนการปรับปรุงรายวิชาที่ระบุระยะเวลา ผู้รับผิดชอบ และตัวชี้วัดความสำเร็จที่ชัดเจน โดยเน้นการพัฒนาทักษะที่จำเป็นสำหรับการทำงานในอุตสาหกรรมและการเรียนรู้ตลอดชีวิต