วิศวกรรมเครื่องจักรกลเกษตร
Agricultural Machinery Engineering
ศึกษาสมบัติเชิงกลของดินและพืช ที่สำหรับการออกแบบเครื่องจักรกลเกษตร หลักการทำงานเครื่องจักรกลเกษตร หลักการออกแบบเครื่องจักรกลเกษตรและอุปกรณ์ฟาร์ม ได้แก่ เครื่องมือเตรียมดิน เครื่องปลูก เครื่องจักรเก็บเกี่ยว การทดสอบและประเมินสมรรถนะเครื่องจักรกลเกษตร มาตราฐานเครื่องจักรกลเกษตร บทนำเศษรฐศาสตร์และการจัดการเครื่องจักรกลเกษตร
ศึกษาสมบัติเชิงกลของดินและพืช ที่สำหรับการออกแบบเครื่องจักรกลเกษตร หลักการทำงานเครื่องจักรกลเกษตร หลักการออกแบบเครื่องจักรกลเกษตรและอุปกรณ์ฟาร์ม ได้แก่ เครื่องมือเตรียมดิน เครื่องปลูก เครื่องจักรเก็บเกี่ยว การทดสอบและประเมินสมรรถนะเครื่องจักรกลเกษตร มาตราฐานเครื่องจักรกลเกษตร บทนำเศษรฐศาสตร์และการจัดการเครื่องจักรกลเกษตร
1.1 คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ เคารพในสิทธิของส่วนบุคคล มีความซื่อสัตย์ในวิชาชีพอย่างมีคุณภาพ โดยมีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร ดังนี้ 1. ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื้อสัตย์สุจริต 2. มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสงคม 3. เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม 4. มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ เคารพในสิทธิของส่วนบุคคล มีความซื่อสัตย์ในวิชาชีพอย่างมีคุณภาพ โดยมีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร ดังนี้ 1. ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื้อสัตย์สุจริต 2. มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสงคม 3. เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม 4. มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา เกี่ยวกับประเด็นทางจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินชีวิตในสังคม
พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
การมีสมาธิและการเอาใจใสต่อการเรียน การกระตือรือร้นในการค้นหาความรู้
ศึกษาตามคำอธิบายรายวิชา
บรรยายและปฏิบัติ การทำงานกลุ่ม และมอบหมายให้ค้นหา ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง การศึกษาดูงานและนำเสนอ หรือ ถามความรู้ที่ได้รับ
ทดสอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
พัฒนาความรู้ มีการวิเคราะห์ ปัญหาจากการของเสีย การแก้ปัญหา การสร้างจิตสำนึก เป็นต้น
1) ปฏิบัติหรือการบรรยาย เรื่องที่เกี่ยวข้อง
2) มอบหมายงาน ทั้งทฤษฏีและปฏิบัติ
1) สอบกลางภาคและปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่ หลักการ ประโยชน์ ปัญหาและการแก้ไข
2) งานที่มอบหมาย
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | ทุกหน่วยเรียน | สอบกลางภาค สอบปลายภาค | สัปดาห์ที่ 8 และ 17 | สอบกลางภาค 30 สอบปลายภาค 40 |
2 | ค้นคว้า รายงาน แบบฝึกหัด | เนื้อหาของงาน การส่งงานตามที่มอบหมาย ความตั้งใจทำงาน ส่งงานตามเวลาที่กำหนด | ตลอดภาคการศึกษา | 20 % |
3 | จิตพิสัย | การเข้าชั้นเรียน มาเรียนตามเวลา การส่งงานตามเวลา การแต่งตัวที่เหมาะสม | ตลอดภาคการศึกษา | 10 % |
สื่ออีเล็คทรอนิค
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ โดยนักศึกษา ในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
1.1 การแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในกลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
1.3 ข้อแนะนำผ่านการให้คำปรึกษานอกชั้นเรียน
1.1 การแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในกลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
1.3 ข้อแนะนำผ่านการให้คำปรึกษานอกชั้นเรียน
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 การสังเกตการณ์ พฤติกรรมการเรียนของผู้เรียนจาการทำกิจกรรมต่างๆ ในชั้นเรียนและ งานที่มอบหมาย รวมทั้งความคิดเห็นของผู้เรียน
2.2 ผลการเรียนและการทำงานของนักศึกษา ทั้งกลางภาคและปลายภาค
2.1 การสังเกตการณ์ พฤติกรรมการเรียนของผู้เรียนจาการทำกิจกรรมต่างๆ ในชั้นเรียนและ งานที่มอบหมาย รวมทั้งความคิดเห็นของผู้เรียน
2.2 ผลการเรียนและการทำงานของนักศึกษา ทั้งกลางภาคและปลายภาค
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1 ปรับปรุงเนื้อหา รูปแบบการเรียนรู้ และกิจกรรมให้มีความเหมาะสมกับผู้เรียน
3.2 ใช้เทคนิคการเรียนการสอนที่ง่าย และสรุปผลการเรียนกับผู้เรียน
3.1 ปรับปรุงเนื้อหา รูปแบบการเรียนรู้ และกิจกรรมให้มีความเหมาะสมกับผู้เรียน
3.2 ใช้เทคนิคการเรียนการสอนที่ง่าย และสรุปผลการเรียนกับผู้เรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทบทวนและทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ และ สอบถาม ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา
จากผลการประเมินผลสัมฤทธิ์และประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ทบทวนเนื้อหาของบทเรียนให้มีความเหมาะสมกับผู้เรียน
5.2 ปรับปรุงเนื้อหาทุกปี ตามกรณีศึกษาที่น่าสนใจซึ่งเกิดขึ้นใหม่ ๆ
5.3 ปรับปรุงรูปแบบกิจกรรม ให้สามารถตอบสนองความสามารถของผู้เรียน