เทคโนโลยีการแปรรูปผลิตภัณฑ์ธัญพืชขั้นสูง
Advanced Cereal Product Technology
เมื่อนักศึกษาเรียนรายวิชานี้แล้วนักศึกษามีสมรรถนะที่ต้องการในด้านต่าง ๆ ดังนี้
1.1 มีความรู้และเข้าใจในคุณภาพวัตถุดิบทางเคมีและทางกายภาพของธัญพืชชนิดต่างๆ
1.2 มีทักษะการแปรรูปและสามารถอธิบายกรรมวิธีการผลิตผลิตภัณฑ์ธัญพืชชนิดต่างๆ ได้
1.3 สามารถอธิบายกรรมวิธีการบรรจุและการเก็บรักษาผลิตภัณฑ์ธัญพืชชนิดต่างๆ ได้
1.4 มีทักษะในการควบคุณภาพและมาตรฐานผลิตภัณฑ์ธัญพืช ทางเคมี กายภาพ จุลินทรีย์ และประสาทสัมผัสของเมล็ดธัญพืชและผลิตภัณฑ์ธัญพืชชนิดต่างๆ ได้
1.5 มีทักษะในการใช้ประโยชน์จากของเหลือในอุตสาหกรรมแปรรูธัญพืชชนิดต่างๆ ได้
1.6 สามารถอธิบายแนวโน้มของการพัฒนาผลิตภัณฑ์และการตลาดของผลิตภัณฑ์ธัญพืชชนิดต่างๆ ได้
1.1 มีความรู้และเข้าใจในคุณภาพวัตถุดิบทางเคมีและทางกายภาพของธัญพืชชนิดต่างๆ
1.2 มีทักษะการแปรรูปและสามารถอธิบายกรรมวิธีการผลิตผลิตภัณฑ์ธัญพืชชนิดต่างๆ ได้
1.3 สามารถอธิบายกรรมวิธีการบรรจุและการเก็บรักษาผลิตภัณฑ์ธัญพืชชนิดต่างๆ ได้
1.4 มีทักษะในการควบคุณภาพและมาตรฐานผลิตภัณฑ์ธัญพืช ทางเคมี กายภาพ จุลินทรีย์ และประสาทสัมผัสของเมล็ดธัญพืชและผลิตภัณฑ์ธัญพืชชนิดต่างๆ ได้
1.5 มีทักษะในการใช้ประโยชน์จากของเหลือในอุตสาหกรรมแปรรูธัญพืชชนิดต่างๆ ได้
1.6 สามารถอธิบายแนวโน้มของการพัฒนาผลิตภัณฑ์และการตลาดของผลิตภัณฑ์ธัญพืชชนิดต่างๆ ได้
เพื่อให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรของสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษากระทรวงศึกษาธิการ และเพื่อปรับปรุงรายละเอียดของวิชาให้เหมาะสมกับการเปลี่ยนแปลงสถานการณ์
ศึกษาทฤษฎีและฝึกปฏิบัติด้านเทคโนโลยีขั้นสูงและสมัยใหม่ด้านการแปรรูปผลิตภัณฑ์อาหารจากธัญพืช ในกลุ่ม ข้าว ข้าวสาลี ข้าวโพด ข้าวฟ่าง ข้าวเดือย ข้าวบาร์เลย์ ข้าวโอ๊ต ในส่วนของ คุณภาพวัตถุดิบ กรรมวิธีการผลิตผลิตภัณฑ์ การบรรจุและการเก็บรักษา การควบคุณภาพและมาตรฐานผลิตภัณฑ์ การใช้ประโยชน์จากของเหลือในอุตสาหกรรมแปรรูธัญพืช การตลาดและแนวโน้มของการพัฒนาผลิตภัณฑ์ ศึกษาค้นคว้างานวิจัยที่เกี่ยวข้องและรายงาน
1 ชั่วโมง
1.1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าและคุณธรรมจริยธรรมเสียสละและซื่อสัตย์สุจริต
1.1.2 มีวินัยขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเองสังคมและสิ่งแวดล้อม
1.1.3 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
1.1.4 สามารถจัดการปัญหาทางคุณธรรม จริยธรรมเชิงวิชาการหรือวิชาชีพที่ซับซ้อนโดยสามารถวางแผนจัดลำดับความสำคัญได้
1.1.5 เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นรวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1.1.6 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆขององค์กรและสังคม
1.1.2 มีวินัยขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเองสังคมและสิ่งแวดล้อม
1.1.3 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
1.1.4 สามารถจัดการปัญหาทางคุณธรรม จริยธรรมเชิงวิชาการหรือวิชาชีพที่ซับซ้อนโดยสามารถวางแผนจัดลำดับความสำคัญได้
1.1.5 เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นรวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1.1.6 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆขององค์กรและสังคม
1.2.1 กำหนดให้มีวัฒนธรรมองค์กรเพื่อเป็นการปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัยโดยเน้นการเข้าเรียน สม่ำเสมอและตรงเวลา
1.2.2 มีความรับผิดชอบ โดยในการทำงานกลุ่มนั้นต้องฝึกให้รู้หน้าที่ของการเป็นผู้นำกลุ่มและการเป็นสมาชิกกลุ่มมีการรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
1.2.3 มีความซื่อสัตย์โดยต้องไม่กระทำการทุจริตในการสอบหรือนำผลงานของผู้อื่นมาเป็นของตนเอง
1.2.4 สอดแทรกเรื่องคุณธรรมจริยธรรม กฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆขององค์กรและสังคม รวมถึงการสร้างให้มีความตระหนักในสิ่งแวดล้อมและส่วนรวม
1.2.5 มีการจัดกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม เช่น การยกย่องนักศึกษาที่ทำดีทำประโยชน์แก่ส่วนรวมเสียสละ
1.2.2 มีความรับผิดชอบ โดยในการทำงานกลุ่มนั้นต้องฝึกให้รู้หน้าที่ของการเป็นผู้นำกลุ่มและการเป็นสมาชิกกลุ่มมีการรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
1.2.3 มีความซื่อสัตย์โดยต้องไม่กระทำการทุจริตในการสอบหรือนำผลงานของผู้อื่นมาเป็นของตนเอง
1.2.4 สอดแทรกเรื่องคุณธรรมจริยธรรม กฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆขององค์กรและสังคม รวมถึงการสร้างให้มีความตระหนักในสิ่งแวดล้อมและส่วนรวม
1.2.5 มีการจัดกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม เช่น การยกย่องนักศึกษาที่ทำดีทำประโยชน์แก่ส่วนรวมเสียสละ
1.3.1 ประเมินจากการรับผิดชอบในงานการส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมายและการเข้าร่วมกิจกรรม
1.3.2 ประเมินจากการเข้าร่วมกิจกรรมเพื่อส่วนรวมและสร้างประโยชน์แก่สังคม
1.3.3 ไม่ทุจริตในการสอบและคัดลอกงานผู้อื่นมาเป็นของตน
1.3.4 ประเมินจากการยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น และมีเหตุผลในการวินิจฉัยปัญหา
1.3.2 ประเมินจากการเข้าร่วมกิจกรรมเพื่อส่วนรวมและสร้างประโยชน์แก่สังคม
1.3.3 ไม่ทุจริตในการสอบและคัดลอกงานผู้อื่นมาเป็นของตน
1.3.4 ประเมินจากการยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น และมีเหตุผลในการวินิจฉัยปัญหา
2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหา
2.1.2 สามารถเชื่อมโยงทฤษฎีความรู้ ความเข้าใจ เข้ากับงานวิจัยและการปฏิบัติทางวิชาชีพอย่างลึกซึ้ง
2.1.3 สามารถสร้างความรู้ใหม่ๆ ตลอดจนสามารถประยุกต์ นำไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อสังคม
2.1.4 มีความรู้และตระหนักในระเบียบข้อบังคับที่ใช้อยู่ในสภาพแวดล้อมของระดับชาติและนานาชาติที่อาจมีผลกระทบต่อวิชาชีพ
2.1.2 สามารถเชื่อมโยงทฤษฎีความรู้ ความเข้าใจ เข้ากับงานวิจัยและการปฏิบัติทางวิชาชีพอย่างลึกซึ้ง
2.1.3 สามารถสร้างความรู้ใหม่ๆ ตลอดจนสามารถประยุกต์ นำไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อสังคม
2.1.4 มีความรู้และตระหนักในระเบียบข้อบังคับที่ใช้อยู่ในสภาพแวดล้อมของระดับชาติและนานาชาติที่อาจมีผลกระทบต่อวิชาชีพ
ใช้การเรียนการสอนในหลากหลายรูปแบบโดยเน้นหลักการทางทฤษฎีและประยุกต์ทางปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริงโดยทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีทั้งนี้ให้เป็นไปตามลักษณะของรายวิชาตลอดจนเนื้อหาสาระของรายวิชานั้นๆนอกจากนี้ควรจัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริงโดยการศึกษาดูงานหรือเชิญผู้เชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์ตรงมาเป็นวิทยากรพิเศษเฉพาะเรื่องตลอดจนการฝึกปฏิบัติงานในสถานประกอบการ
2.3.1 การทดสอบย่อย
2.3.2 การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
2.3.3 ประเมินจากรายงานที่นักศึกษาจัดทำ
2.3.4 ประเมินจากแผนธุรกิจหรือโครงการที่นำเสนอ
2.3.5 ประเมินจากการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
2.3.2 การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
2.3.3 ประเมินจากรายงานที่นักศึกษาจัดทำ
2.3.4 ประเมินจากแผนธุรกิจหรือโครงการที่นำเสนอ
2.3.5 ประเมินจากการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
3.1.1 มีทักษะในการนำความรู้มาวิเคราะห์และสังเคราะห์ประเด็นหรือปัญหาที่ซับซ้อนได้อย่างสร้างสรรค์เป็นระบบ
3.1.2 สามารถพัฒนาความคิดใหม่ๆ โดยบูรณาการความรู้ที่ศึกษาตลอดถึงการใช้เทคนิคการวิจัยในสาขากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
3.1.2 สามารถพัฒนาความคิดใหม่ๆ โดยบูรณาการความรู้ที่ศึกษาตลอดถึงการใช้เทคนิคการวิจัยในสาขากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
3.2.1 กรณีศึกษาทางการประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศ
3.2.2 การอภิปรายกลุ่ม
3.2.3 ให้นักศึกษามีโอกาสปฏิบัติจริง
3.2.2 การอภิปรายกลุ่ม
3.2.3 ให้นักศึกษามีโอกาสปฏิบัติจริง
3.3.1 ประเมินจากการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
3.3.2 การทดสอบโดยใช้แบบทดสอบหรือสัมภาษณ์
3.3.2 การทดสอบโดยใช้แบบทดสอบหรือสัมภาษณ์
4.1.1 มีมนุษยสัมพันธ์ และมารยาทสังคมที่ดี
4.1.2 สามารถแก้ไขปัญหาทางวิชาชีพที่มีความซับซ้อนหรือความยุ่งยากระดับสูงได้ด้วยตนเองสามารถตัดสินใจในการดำเนินงานด้วยตนเอง
4.1.3 สามารถประเมินตนเองได้รวมทั้งวางแผนในการปรับปรุงตนเองให้มีประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานระดับสูงได้
4.1.4 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามสามารถทำงานเป็นหมู่คณะรวมทั้งแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.1.5 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
4.1.2 สามารถแก้ไขปัญหาทางวิชาชีพที่มีความซับซ้อนหรือความยุ่งยากระดับสูงได้ด้วยตนเองสามารถตัดสินใจในการดำเนินงานด้วยตนเอง
4.1.3 สามารถประเมินตนเองได้รวมทั้งวางแผนในการปรับปรุงตนเองให้มีประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานระดับสูงได้
4.1.4 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามสามารถทำงานเป็นหมู่คณะรวมทั้งแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.1.5 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
4.2.1 สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี
4.2.2 มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย
4.2.3 สามารถปรับตัวเข้ากับสถานการณ์และวัฒนธรรมองค์กรที่ไปปฏิบัติงานได้เป็นอย่างดี
4.2.4 มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีกับผู้ร่วมงานในองค์กรและกับบุคคลทั่วไป
4.2.5 มีภาวะผู้นำ
4.2.2 มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย
4.2.3 สามารถปรับตัวเข้ากับสถานการณ์และวัฒนธรรมองค์กรที่ไปปฏิบัติงานได้เป็นอย่างดี
4.2.4 มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีกับผู้ร่วมงานในองค์กรและกับบุคคลทั่วไป
4.2.5 มีภาวะผู้นำ
4.3.1 ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษาในการนำเสนอรายงานกลุ่มในชั้นเรียน
4.3.2 การตอบข้อซักถามของอาจารย์และสังเกตจากพฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่างๆและความครบถ้วนชัดเจนตรงประเด็นของข้อมูล
4.3.2 การตอบข้อซักถามของอาจารย์และสังเกตจากพฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่างๆและความครบถ้วนชัดเจนตรงประเด็นของข้อมูล
5.1.1 มีทักษะในการใช้ข้อมูลทางคณิตศาสตร์และสถิติในการศึกษาค้นคว้าสรุปและเสนอแนะแก้ไขปัญหาในด้านต่าง ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.1.2 สามารถนำเสนอรายงานทั้งในรูปแบบที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการผ่านสิ่งตีพิมพ์ทางวิชาการและวิชาชีพ รวมทั้งวิทยานิพนธ์หรือโครงการค้นคว้าที่สำคัญ
5.1.3 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้สารสนเทศและเทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
5.1.4 สามารถใช้ภาษาไทยและต่างประเทศเพื่อการสื่อสาร และใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.1.2 สามารถนำเสนอรายงานทั้งในรูปแบบที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการผ่านสิ่งตีพิมพ์ทางวิชาการและวิชาชีพ รวมทั้งวิทยานิพนธ์หรือโครงการค้นคว้าที่สำคัญ
5.1.3 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้สารสนเทศและเทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
5.1.4 สามารถใช้ภาษาไทยและต่างประเทศเพื่อการสื่อสาร และใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.2.1 จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชาต่างๆ ให้นักศึกษาได้วิเคราะห์สถานการณ์จำลองและสถานการณ์เสมือนจริงแล้วนำเสนอการแก้ปัญหาที่เหมาะสม
5.2.2 เรียนรู้เทคนิคการประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศในหลากหลายสถานการณ์
5.2.2 เรียนรู้เทคนิคการประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศในหลากหลายสถานการณ์
5.3.1 จากเทคนิคการนำเสนอโดยใช้ทฤษฏี
5.3.2 จากการเลือกใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศหรือคณิตศาสตร์และสถิติที่เกี่ยวข้องโดยประเมินจากความสามารถในการอธิบายถึงข้อจำกัดเหตุผลในการเลือกใช้เครื่องมือต่างๆ การอภิปรายกรณีศึกษาต่างๆ มีการนำเสนอต่อชั้นเรียน
5.3.2 จากการเลือกใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศหรือคณิตศาสตร์และสถิติที่เกี่ยวข้องโดยประเมินจากความสามารถในการอธิบายถึงข้อจำกัดเหตุผลในการเลือกใช้เครื่องมือต่างๆ การอภิปรายกรณีศึกษาต่างๆ มีการนำเสนอต่อชั้นเรียน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา | 1.คุณธรรม จริยธรรม | 2.ความรู้ | 3.ทักษะทางปัญญา | 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ | 5.ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ | ||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ลำดับ | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 1 | 2 | 3 | 4 | 1 | 2 | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 1 | 2 | 3 | 4 |
1 | MSCGT406 | เทคโนโลยีการแปรรูปผลิตภัณฑ์ธัญพืชขั้นสูง |
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | 1.1, 1.2, 1.3, 1.4, 4.4 | การเข้าชั้นเรียน การส่งรายงานตรงเวลา การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียนด้านคุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณ การมีส่วนร่วมกิจกรรมจิตอาสาในชั้นเรียนระหว่างการเรียนภาคปฏิบัติการ | 1-17 | 10% |
2 | 2.2, 3.1, 5.2, 5.3 | การทดสอบภาคปฏิบัติการวิเคราะห์คุณภาพเมล็ดธัญพืชและการพัฒนาผลิตภัณฑ์จากธัญพืชชนิดต่างๆ | 16 | 25% |
3 | 2.1, 3.2, 4.1, 5,2 | การสอบกลางภาคและปลายภาค (แบบอัตนัย) | 8, 17 | 40% |
4 | 4.1, 4.2, 5.1, 5.3 | การนำเสนองาน/การทำรายงานบทปฏิบัติการ | 16 | 25% |
คงศักดิ์ ศรีแก้ว.2563. เทคโนโลยีธัญชาติและผลิตภัณฑ์. อุทยานวิทยาศาสตร์ภาคเหนือ มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม. 262 น.
คงศักดิ์ ศรีแก้ว. 2563. ดัชนีน้ำตาล:หลักการและการประยุกต์ใช้. อุทยานวิทยาศาสตร์ภาคเหนือ มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม. 262 น.
จิรภา พงษ์จันตา. 2560. เอกสารคำสอน เทคโนโลยีธัญพืชและผลิตภัณฑ์
อรอนงค์ นัยวิกุล. 2556. ข้าว: วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์,กรุงเทพฯ 366 น.
American Association of Cereal Chemists (AACC) .2002. Approved methods. The Association, St. Paul Minnesota. 950 p
A0AC. 2005. Approved Method of the American Association of Cereal Chemists. Vol. I, II American of Cereal Chemists, Inc. st. Paul, Minnesota. 1,140 p.
2.1 จิรภา พงษ์จันตา นิอร โฉมศรี รัตนพล พนมวัน ณ อยุธยา และ รวีวรรณ อิ่นทา .2556. การผลิตเอทานอลจากเจลแป้งข้าวที่เสียจากกระบวนการผลิตเส้นก๋วยเตี๋ยว. การประชุมวิชาการข้าวแห่งชาติ ครั้งที่ 2 ระหว่างวันที่ 21 - 23 ธันวาคม 2555 ภายใต้หัวข้อ “มิติใหม่วิจัยข้าวไทย” ณ โรงแรมสวิสโซเทล เลอ คองคอร์ด กรุงเทพมหานคร
2.2 จิรภา พงษ์จันตา ณงค์นุช นทีพายัพทิศ รัตนพล พนมวัน ณ อยุธยา ณัฐวลินคล เศรษฐปราโมทย์ ธัญญารัตน์ เขื่อนเพชร. 2555. การพัฒนากระบวนการผลิตข้าวซอยตัดกลิ่นรสผลไม้และยืดอายุการเก็บรักษาข้าวซอยตัด. รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เสนอต่อสำนักงานพัฒนา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 60 หน้า
2.3 ปัศนีย์ มาเยอ, จินตนา สมวงค์ทวีชัย, อุบลรัตน์พรหมฟังและจิรภา พงษ์จันตา.2559.การพัฒนาสูตรผลิตภัณฑ์มัฟฟินที่มีค่าดัชนีน้ำตาลต่ำเส้นใยสูง รายงานการประชุมวิชาการนเรศวรวิจัย ครั้งที่ 12: วิจัยและนวัตกรรมกับการพัฒนาประเทศ. หน้า 290-299
2.4 เอกสารประกอบการสอนในรายวิชา
2.2 จิรภา พงษ์จันตา ณงค์นุช นทีพายัพทิศ รัตนพล พนมวัน ณ อยุธยา ณัฐวลินคล เศรษฐปราโมทย์ ธัญญารัตน์ เขื่อนเพชร. 2555. การพัฒนากระบวนการผลิตข้าวซอยตัดกลิ่นรสผลไม้และยืดอายุการเก็บรักษาข้าวซอยตัด. รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เสนอต่อสำนักงานพัฒนา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 60 หน้า
2.3 ปัศนีย์ มาเยอ, จินตนา สมวงค์ทวีชัย, อุบลรัตน์พรหมฟังและจิรภา พงษ์จันตา.2559.การพัฒนาสูตรผลิตภัณฑ์มัฟฟินที่มีค่าดัชนีน้ำตาลต่ำเส้นใยสูง รายงานการประชุมวิชาการนเรศวรวิจัย ครั้งที่ 12: วิจัยและนวัตกรรมกับการพัฒนาประเทศ. หน้า 290-299
2.4 เอกสารประกอบการสอนในรายวิชา
Pongjanta J, Lerdluksamee C (2019) Quality Improvement of Thai Flat Rice Noodle Restructured With Starch Digested Enzyme and RRS III. Adv Nutri and Food Sci: ANAFS-129. ISSN: 2641-6816, 13p.
Jirapa Pongjanta Ni-orn Chomsri and Sawit Meechoui.2016. Correlation of pasting behaviors with total phenolic compounds and starch digestibility of indigenous pigmented rice grown in upper Northern Thailand. Functional Food in Health and Disease: 6(3):133-146.
ขึ้นอยู่กับอาจารย์ผู้สอน
Jirapa Pongjanta Ni-orn Chomsri and Sawit Meechoui.2016. Correlation of pasting behaviors with total phenolic compounds and starch digestibility of indigenous pigmented rice grown in upper Northern Thailand. Functional Food in Health and Disease: 6(3):133-146.
ขึ้นอยู่กับอาจารย์ผู้สอน
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
1.1 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
1.2 การทำแบบประเมินการสอนโดยผู้เรียน ที่ผู้สอนจัดทำขึ้นเพื่อเปิดโอกาสให้นักศึกษาได้แสดงความคิดเห็น
1.3 ข้อเสนอแนะจากช่องทางที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
1.1 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
1.2 การทำแบบประเมินการสอนโดยผู้เรียน ที่ผู้สอนจัดทำขึ้นเพื่อเปิดโอกาสให้นักศึกษาได้แสดงความคิดเห็น
1.3 ข้อเสนอแนะจากช่องทางที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2 ผลประเมินจากความคิดเห็นของนักศึกษา
2.3 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.4 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2 ผลประเมินจากความคิดเห็นของนักศึกษา
2.3 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.4 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จากการสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรือหน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้อง
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรือหน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้อง