กระบวนการทางวิทยาศาสตร์เพื่อทำงานวิจัยและการสร้างนวัตกรรม

Scientific Methods for Research and Innovation

1. เข้าใจกระบวนการกระบวนการทางด้านวิทยาศาสตร์ 2. สามารถพัฒนาทักษะทางด้านการเก็บรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์และสรุปผล โดยใช้กระบวนการทางด้านวิทยาศาสตร์ 3. สามารถนำทักษะไปประยุกต์ใช้ในการวิจัยหรือการสร้างนวัตกรรม
เพื่อปรับรายวิชาให้สอดคล้องกับคุณสมบัติบัณฑิตนักปฏิบัติอันพึงประสงค์ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
ศึกษาและพัฒนาทักษะทางด้านการเก็บรวบรวมข้อมูล วิเคราห์และสรุปผล โดยใช้กระบวนการทางด้านวิทยาศาสตร์เพื่อเตรียมความพร้อมให้กับผู้เรีียนในการนำทักษะไปประยุกต์ใช้ในการวิจัยหรือสร้างนวัตกรรม
3
1.1 คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา
1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม 2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ 3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม 4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
 
1.2 วิธีการสอน
1. กรณีศึกษา 2. การนำเสนอผลงาน
3. ทดลองสืบค้นข้อมูลและสร้างนวัตกรรม
 
1.3 วิธีการประเมินผล
1. งานที่ได้รับมอบหมาย 2. การนำเสนอผลงาน 3. เล่มสรุปโครงงานศึกษาด้วยตัวเอง (IS)  
2.1 ความรู้ที่ต้องได้รับ
1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา 3 มีสามารถบูรณาการความรู้ทางวิชาชีพกับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
2.2 วิธีการสอน
1. กรณีศึกษา 2. การนำเสนอผลงาน 3. ทดลองสืบค้นข้อมูลและสร้างนวัตกรรม
2.3 วิธีการประเมินผล
1. งานที่ได้รับมอบหมาย 2. การนำเสนอผลงาน 3. เล่มสรุปโครงงานศึกษาด้วยตัวเอง (IS)
3.1 ทักษะทางปัญญา ที่ต้องพัฒนา
1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ 2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
3.2 วิธีการสอน
1. กรณีศึกษา 2. การนำเสนอผลงาน 3. การเขียนเล่มสรุปโครงงานศึกษาด้วยตัวเอง (IS)
3.3 วิธีการประเมินผล
1. งานที่ได้รับมอบหมาย 2. การนำเสนอผลงาน 3. เล่มสรุปโครงงานศึกษาด้วยตัวเอง (IS)
4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ที่ต้องพัฒนา
1  มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี 2  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 4  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
4.2 วิธีการสอน
1. ให้แบ่งกลุ่มเพื่อทำงานที่ได้รับมอบหมาย
2. บทยาทหน้าที่ในการทำงานกลุ่มของแต่ละบุคคล
3. กำหนดเวลาการส่งงานเพื่อเสริมสร้างการตรงต่อเวลา
4.3 วิธีการประเมินผล
1. งานที่ได้รับมอบหมาย 2. การนำเสนอผลงาน 3. เล่มสรุปโครงงานศึกษาด้วยตัวเอง (IS)
5.1 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา
1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม 2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง เหมาะสม 3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.2 วิธีการสอน
1. ให้แบ่งกลุ่มเพื่อทำงานที่ได้รับมอบหมาย
2. ใช้เครื่องมือในการสืบค้นข้อมูลให้เหมาะสม
3. ทดลองสืบค้นข้อมูลในส่วนที่สนใจได้อย่างถูกต้อง
5.3 วิธีการประเมินผล
1. งานที่ได้รับมอบหมาย 2. การนำเสนอผลงาน 3. เล่มสรุปโครงงานศึกษาด้วยตัวเอง (IS)
-
-
-
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1
1. หลักการและวิธีการเขียนงานวิจัย  วิทยานิพนธ์  สารนิพนธ์ 
ดร.ประเวศน์  มหารัตน์สกุล
2. การวิจัยและพัฒนานวัตกรรมเพื่อการเปลี่ยนแปลง
รศ.ดร. มนสิช สิทธิสมบูรณ์
3. แนวความคิด  หลักการ  และกระบวนการวิจัย
ดร.ประเวศน์  มหารัตน์สกุล
ข้อมูลจากสื่อต่าง ๆ ได้แก่ ข้อมูลสื่อสิ่งพิมพ์ และข้อมูลสื่อออนไลน์ เป็นต้น
การใช้ AI ต่างๆช่วยในการเขียนงานวิจัย
ประเมินการการสนใจในการค้นคว้าหาความรู้ตามที่กำหนดให้  โดยจูงใจด้วยคะแนนของการส่งงานทุกครั้งตรงตามที่กำหนด  และนักศึกษาสามารถเขียนโครงงานวิจัยซึ่งศึกษาด้วยตัวเองได้
ให้นักศึกษาตอบแบบสอบถามเพื่อประเมินผู้สอนหลังสอบกลางภาค
นำผลที่ได้จากการประเมินการสอนครั้งที่ 1 มาปรับปรุง
แจ้งสถืตืการส่งงานตรงตามเวลา  ล่าช้า  และไม่ส่ง  และคะแนนที่ได้จากงาน  หลังสอบกลางภาค
แจ้งสถิติการเข้าห้องเรียน  การขาด  หลังสอบกลางภาค
ปรับปรุงรูปแบบการสอนจากผลการประเมินของนักศึกษาหลังส่งงานชิ้นสุดท้ายก่อนปิดภาคเรียน