การตกแต่งสิ่งพิมพ์บรรจุภัณฑ์
Packaging Finishes
1. มีความรู้เกี่ยวกับกระบวนการเพิ่มมูลค่าบรรจุภัณฑ์ด้วยเทคนิคงานทำสำเร็จรูป
2. มีความเข้าใจกระบวนการเทคนิคงานทำสำเร็จรูปสำหรับตกแต่งบนบรรจุภัณฑ์
3. มีทักษะกระบวนการตกแต่งบนบรรจุภัณฑ์ด้วยเครื่องจักรและเทคโนโลยี
2. มีความเข้าใจกระบวนการเทคนิคงานทำสำเร็จรูปสำหรับตกแต่งบนบรรจุภัณฑ์
3. มีทักษะกระบวนการตกแต่งบนบรรจุภัณฑ์ด้วยเครื่องจักรและเทคโนโลยี
กระบวนการเพิ่มมูลค่าบรรจุภัณฑ์ด้วยเทคนิคงานทำสำเร็จรูปแบบต่างๆ สำหรับตกแต่งบน บรรจุภัณฑ์ด้วยเครื่องจักรและเทคโนโลยี
2 ชั่วโมง โดยระบุวัน เวลา ไว้ในตารางสอนและแจ้งให้นักศึกษาทราบในชั่วโมงแรกของการสอน
มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังแนวคิดผู้อื่น
มีจิตอาสา จิตสำนึกสาธารณ
สอดแทรกกิจกรรมในระหว่างการสอนเกี่ยวกับคุณธรรม จริยธรรมในการสอนให้กับนักศึกษา
สอดแทรกความรู้ทางด้านจรรยาบรรณด้านวิชาการและวิชาชีพให้กับนักศึกษาในรายวิชา
สอนให้นักศึกษารู้จักหน้าที่ ความรับผิดชอบในการทำงานต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
1. การตรงต่อเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมาย
2. ความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
2. ความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
1. มีความรู้ในทางศิลปะที่สัมพันธ์กับบริบททางสังคม ภูมิปัญญาและวัฒนธรรม
2. มีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานหรือธรรมเนียมปฏิบัติในการประกอบวิชาชีพด้านศิลปกรรมศาสตร์ในสาขาวิชาที่ศึกษา
2. มีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานหรือธรรมเนียมปฏิบัติในการประกอบวิชาชีพด้านศิลปกรรมศาสตร์ในสาขาวิชาที่ศึกษา
บรรยายและอภิปรายในชั้นเรียนโดยเน้นการประยุกต์ความรู้สำหรับใช้ในการปฏิบัติงาน
นักศึกษาฝึกปฏิบัติด้วยตนเอง
การทำงานเดี่ยว ตลอดจนการนำเสนอหน้าชั้นเรียน
ประเมินผลจากการมอบหมายงาน
การสอบกลางภาคและปลายภาค
สามารถค้นคว้า รวบรวมและประเมินข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายอย่างมีจิต
วิจารณญาณ
สามารถบูรณาการความรู้กับศาสตร์อื่นเพื่อสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการและวิชาชีพได้ มีความคิดสร้างสรรค์และมีปฏิภาณไหวพริบในการสร้างผลงาน
วิจารณญาณ
สามารถบูรณาการความรู้กับศาสตร์อื่นเพื่อสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการและวิชาชีพได้ มีความคิดสร้างสรรค์และมีปฏิภาณไหวพริบในการสร้างผลงาน
การมอบหมายงานให้นักศึกษาปฝึกปฏิบัติด้วยตนเอง
นักศึกษาสามารถรวบรวม วิเคราะห์ และสรุปข้อมูลที่เกิดขึ้น
1. ผลงานสำเร็จ
1. มีความรับผิดชอบต่องานของตนเองและสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นอย่างมีประสิทธิภาพ
2. มีภาวะผู้นำเข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเอง รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นและมนุษยสัมพันธ์ที่ดี
3. สามารถแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล ตรงไปตรงมา และเคารพในความคิดเห็นที่แตกต่าง
2. มีภาวะผู้นำเข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเอง รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นและมนุษยสัมพันธ์ที่ดี
3. สามารถแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล ตรงไปตรงมา และเคารพในความคิดเห็นที่แตกต่าง
สอดแทรกการมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีในการทำงานเดี่ยว ตลอดจนการยอมรับความคิดเห็นที่
แตกต่างของแต่ละคน
ฝึกให้นักศึกษามีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี
แตกต่างของแต่ละคน
ฝึกให้นักศึกษามีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี
1. พฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษาในการนำเสนอผลงาน
2. การตรงต่อเวลาในการส่งงานที่ได้รับมอบหมาย
2. การตรงต่อเวลาในการส่งงานที่ได้รับมอบหมาย
สามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียนในการสื่อสารโดยทั่วไปตลอดจนใช้วิธีการสื่อสารทาง
ศิลปกรรม และนำเสนองานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสร้างสรรค์ผลงานหรือการ
นำเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ศิลปกรรม และนำเสนองานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสร้างสรรค์ผลงานหรือการ
นำเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1. บรรยาย
2. การนำเสนอโดยการวิเคราะห์การแก้ปัญหาโดยใช้เทคโนโลยีและแหล่งข้อมูลทางอินเตอร์เน็ตร่วมในการวิเคราะห์
2. การนำเสนอโดยการวิเคราะห์การแก้ปัญหาโดยใช้เทคโนโลยีและแหล่งข้อมูลทางอินเตอร์เน็ตร่วมในการวิเคราะห์
1. การนำเสนอโดยใช้สื่อที่เหมาะสม
2. การมีส่วนร่วมในการอภิปรายร่วมกันในกลุ่ม
2. การมีส่วนร่วมในการอภิปรายร่วมกันในกลุ่ม
1. สามารถใช้ทักษะปฏิบัติทางศิลปกรรมศาสตร์ในการสร้างสรรค์ผลงานตน
1. บรรยาย
2. ดูแล ให้คำแนะนำ ปรึกษา
3. นักศึกษานำเสนอนิทรรศการผลงาน
2. ดูแล ให้คำแนะนำ ปรึกษา
3. นักศึกษานำเสนอนิทรรศการผลงาน
1. กระบวนการทำงานถูกต้องตามขั้นตอน
2. ผลงาน
3. ตรงตามกำหนดเวลา
2. ผลงาน
3. ตรงตามกำหนดเวลา
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา | 1. คุณธรรมจริยธรรม | 2. ความรู้ | 3. ทักษะทางปัญญา | 4 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ | 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ | 6. ทักษะพิสัย | |||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ลำดับ | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | 1. มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังแนวคิดผู้อื่น | 2. มีจิตอาสา จิตสำนึกสาธารณ | มีความรู้ในทางศิลปะที่สัมพันธ์กับบริบททางสังคม ภูมิปัญญาและวัฒนธรรม | ความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานหรือธรรมเนียมปฏิบัติในการประกอบวิชาชีพด้านศิลปกรรมศาสตร์ในสาขาวิชาที่ศึกษา | 1. สามารถค้นคว้า รวบรวมและประเมินข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายอย่างมีจิต วิจารณญาณ | 2. สามารถบูรณาการความรู้กับศาสตร์อื่นเพื่อสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการและวิชาชีพได้ | 3. มีความคิดสร้างสรรค์และมีปฏิภาณไหวพริบในการสร้างผลงาน | 1. มีความรับผิดชอบต่องานของตนเองและสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นอย่างมีประสิทธิภาพ | 2. มีภาวะผู้นำเข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเอง รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นและมนุษยสัมพันธ์ที่ดี | 3. สามารถแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล ตรงไปตรงมา และเคารพในความคิดเห็นที่แตกต่าง | 1. สามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียนในการสื่อสารโดยทั่วไปตลอดจนใช้วิธีการสื่อสารทาง ศิลปกรรม และนำเสนองานได้อย่างมีประสิทธิภาพ | 2. สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสร้างสรรค์ผลงานหรือการ นำเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ | 1. สามารถใช้ทักษะปฏิบัติทางศิลปกรรมศาสตร์ในการสร้างสรรค์ผลงานตน |
1 | BAAPD131 | การตกแต่งสิ่งพิมพ์บรรจุภัณฑ์ |
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | คุณธรรม จริยธรรม | 1. การตรงต่อเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมาย 2. ความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย | ตลอดภาคการศึกษา | 10% |
2 | ความรู้ | 1. ประเมินผลจากการมอบหมายงาน 2. การสอบกลางภาคและปลายภาค | 9 และ 18 | 20% |
3 | ทักษะทางปัญญา | 1. ผลงานสำเร็จ | ตลอดภาคการศึกษา | 20% |
4 | ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ | 1. พฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษาในการนำเสนอผลงาน 2. การตรงต่อเวลาในการส่งงานที่ได้รับมอบหมาย | ตลอดภาคการศึกษา | 10% |
5 | ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ | 1. การนำเสนอโดยใช้สื่อที่เหมาะสม 2. การมีส่วนร่วมในการอภิปรายร่วมกันในกลุ่ม | ตลอดภาคการศึกษา | 10% |
6 | ทักษะพิสัย | 1. กระบวนการทำงานถูกต้องตามขั้นตอน 2. ผลงาน 3. ตรงตามกำหนดเวลา | ตลอดภาคการศึกษา | 30% |
1. กรรณิการ์ ยิ้มนาค และแววบุญ แย้มแสงสังข์. (2563). บรรจุภัณฑ์พลาสติก. พิมพ์ครั้งที่ 5. นนทบุรี.
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
2. ชนัสสา นันทิวัชรินทร์. (2563) . การพิมพ์และตกแต่งบรรจุภัณฑ์. ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับบรรจุภัณฑ์ หน่วยที่
8-12. พิมพ์ครั้งที่ 5. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. นนทบุรี.
3. ไชยวัฒน์ จิรพัทธพงศ์.(2555). งานตัด. เทคนิคหลังพิมพ์ หน่วยที่ 1-7. พิมพ์ครั้งที่ 2 พ.ศ. 2555.
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. นนทบุรี.
4. นุชจรินทร์ เหลืองสะอาด และผกามาศ ผจญแกล้ว. (2563). บรรจุภัณฑ์กระดาษ. พิมพ์ครั้งที่ 5. นนทบุรี.
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
5. บุญชัย วลีธรชีพสวัสดิ์. (2562). เทคโนโลยีการจัดการภาพ. เทคโนโลยีก่อนพิมพ์ หน่วยที่ 1-7. ปรับปรุง
ครั้งที่ 2 พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2562. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. นนทบุรี.
6. บุญชัย วลีธรชีพสวัสดิ์. (2561) . งานหลังพิมพ์. ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการพิมพ์ หน่วยที่ 8-12. ฉบับปรุงปรุง
พิมพ์ครั้งที่ 2 (2561). มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. นนทบุรี.
7. บุญเลี้ยง แก้วนาพันธ์. (2562). การออกแบบสิ่งพิมพ์. เทคโนโลยีก่อนพิมพ์ หน่วยที่ 1-7. ปรับปรุงครั้งที่ 2
พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2562. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. นนทบุรี.
8. ปุ่น คงเจริญเกียรติ. (2563). บรรจุภัณฑ์โลหะ. พิมพ์ครั้งที่ 5. นนทบุรี.มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
9. มยุรี ภาคลำเจียก. (2563) . การพัฒนาและออกแบบบรรจุภัณฑ์. ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับบรรจุภัณฑ์ หน่วยที่
8-12. พิมพ์ครั้งที่ 5. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. นนทบุรี.
10. มยุรี ภาคลำเจียก. (2559). การทำรูปทรงกล่องกระดาษแข็ง. เทคนิคงานหลังพิมพ์ หน่วยที่ 8-15.
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. นนทบุรี.
11. วรรณา สนั่นพานิชกุล และสุรพล พุ่มมี. (2562). การจัดการงานก่อนพิมพ์ระบบดิจิทัล. เทคโนโลยีก่อนพิมพ์
หน่วยที่ 1-7. ปรับปรุงครั้งที่ 2 พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2562. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. นนทบุรี.
12. วัฒนา กาญจนตระกูล , เกรียงศักดิ์ ลิ้มประจวบลาภ และกฤษฎ์ ฉันทจิรพร. (2559). การทำรูปทรง
บรรจุภัณฑ์คงรูปทรงกระบอก. เทคนิคงานหลังพิมพ์ หน่วยที่ 8-15. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
นนทบุรี.
13. สมชัย มนุอมร. (2555). การลามิเนตบรรจุภัณฑ์อ่อนตัว. เทคนิคหลังพิมพ์ หน่วยที่ 1-7. พิมพ์ครั้งที่ 2
พ.ศ. 2555. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. นนทบุรี.
14. สุณี ภู่สีม่วง และบุญชัย วลีธรชีพสวัสดิ์. (2562). ความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีก่อนพิมพ์ระบบดิจิทัล. เทคโนโลยี
ก่อนพิมพ์ หน่วยที่ 1-7. ปรับปรุงครั้งที่ 2 พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2562. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
นนทบุรี.
15. สุณี ภู่สีม่วง และภากร มโนมัยวิบูลย์. (2559). การทำรูปทรงบรรจุภัณฑ์อ่อนตัว. เทคนิคงานหลังพิมพ์
หน่วยที่ 8-15. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. นนทบุรี.
16. สุภาวดี เทวาสะโณ. (2555). ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับงานหลังพิมพ์. เทคนิคหลังพิมพ์ หน่วยที่ 1-7.
พิมพ์ครั้งที่ 2 พ.ศ. 2555. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. นนทบุรี.
17. สุภาวดี เทวาสะโณ. (2555). การเคลือบวาร์นิชและการลามิเนตในงานหลังพิมพ์สำหรับสิ่งพิมพ์กระดาษ.
เทคนิคหลังพิมพ์ หน่วยที่ 1-7. พิมพ์ครั้งที่ 2 พ.ศ. 2555. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. นนทบุรี.
18. สุวัฒน์ ตั่งโพธิสุวรรณ และสุณี ภูสีม่วง. (2563). บรรจุภัณฑ์แก้ว. พิมพ์ครั้งที่ 5. นนทบุรี. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
19. สุรเดช เหล่าแสงงาม และบุญชู ศิริสกาวกุล. (2539). เทคนิคงานหลังพิมพ์ 2. ความรู้เฉพาะวิชาชีพหลัง
การพิมพ์ 2. พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2339. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. นนทบุรี.
20. อุดม ควรผดุง. (2555). ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับงานหลังพิมพ์. เทคนิคหลังพิมพ์ หน่วยที่ 1-7. พิมพ์ครั้งที่ 2
พ.ศ. 2555. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. นนทบุรี.
21. อุดม ควรผดุง. (2555). งานเดินรอยร้อน งานดุนนูน และงานอัดตัดตามแม่แบบ. เทคนิคหลังพิมพ์
หน่วยที่ 1-7. พิมพ์ครั้งที่ 2 พ.ศ. 2555. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. นนทบุรี.
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
2. ชนัสสา นันทิวัชรินทร์. (2563) . การพิมพ์และตกแต่งบรรจุภัณฑ์. ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับบรรจุภัณฑ์ หน่วยที่
8-12. พิมพ์ครั้งที่ 5. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. นนทบุรี.
3. ไชยวัฒน์ จิรพัทธพงศ์.(2555). งานตัด. เทคนิคหลังพิมพ์ หน่วยที่ 1-7. พิมพ์ครั้งที่ 2 พ.ศ. 2555.
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. นนทบุรี.
4. นุชจรินทร์ เหลืองสะอาด และผกามาศ ผจญแกล้ว. (2563). บรรจุภัณฑ์กระดาษ. พิมพ์ครั้งที่ 5. นนทบุรี.
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
5. บุญชัย วลีธรชีพสวัสดิ์. (2562). เทคโนโลยีการจัดการภาพ. เทคโนโลยีก่อนพิมพ์ หน่วยที่ 1-7. ปรับปรุง
ครั้งที่ 2 พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2562. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. นนทบุรี.
6. บุญชัย วลีธรชีพสวัสดิ์. (2561) . งานหลังพิมพ์. ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการพิมพ์ หน่วยที่ 8-12. ฉบับปรุงปรุง
พิมพ์ครั้งที่ 2 (2561). มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. นนทบุรี.
7. บุญเลี้ยง แก้วนาพันธ์. (2562). การออกแบบสิ่งพิมพ์. เทคโนโลยีก่อนพิมพ์ หน่วยที่ 1-7. ปรับปรุงครั้งที่ 2
พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2562. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. นนทบุรี.
8. ปุ่น คงเจริญเกียรติ. (2563). บรรจุภัณฑ์โลหะ. พิมพ์ครั้งที่ 5. นนทบุรี.มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
9. มยุรี ภาคลำเจียก. (2563) . การพัฒนาและออกแบบบรรจุภัณฑ์. ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับบรรจุภัณฑ์ หน่วยที่
8-12. พิมพ์ครั้งที่ 5. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. นนทบุรี.
10. มยุรี ภาคลำเจียก. (2559). การทำรูปทรงกล่องกระดาษแข็ง. เทคนิคงานหลังพิมพ์ หน่วยที่ 8-15.
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. นนทบุรี.
11. วรรณา สนั่นพานิชกุล และสุรพล พุ่มมี. (2562). การจัดการงานก่อนพิมพ์ระบบดิจิทัล. เทคโนโลยีก่อนพิมพ์
หน่วยที่ 1-7. ปรับปรุงครั้งที่ 2 พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2562. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. นนทบุรี.
12. วัฒนา กาญจนตระกูล , เกรียงศักดิ์ ลิ้มประจวบลาภ และกฤษฎ์ ฉันทจิรพร. (2559). การทำรูปทรง
บรรจุภัณฑ์คงรูปทรงกระบอก. เทคนิคงานหลังพิมพ์ หน่วยที่ 8-15. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
นนทบุรี.
13. สมชัย มนุอมร. (2555). การลามิเนตบรรจุภัณฑ์อ่อนตัว. เทคนิคหลังพิมพ์ หน่วยที่ 1-7. พิมพ์ครั้งที่ 2
พ.ศ. 2555. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. นนทบุรี.
14. สุณี ภู่สีม่วง และบุญชัย วลีธรชีพสวัสดิ์. (2562). ความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีก่อนพิมพ์ระบบดิจิทัล. เทคโนโลยี
ก่อนพิมพ์ หน่วยที่ 1-7. ปรับปรุงครั้งที่ 2 พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2562. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
นนทบุรี.
15. สุณี ภู่สีม่วง และภากร มโนมัยวิบูลย์. (2559). การทำรูปทรงบรรจุภัณฑ์อ่อนตัว. เทคนิคงานหลังพิมพ์
หน่วยที่ 8-15. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. นนทบุรี.
16. สุภาวดี เทวาสะโณ. (2555). ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับงานหลังพิมพ์. เทคนิคหลังพิมพ์ หน่วยที่ 1-7.
พิมพ์ครั้งที่ 2 พ.ศ. 2555. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. นนทบุรี.
17. สุภาวดี เทวาสะโณ. (2555). การเคลือบวาร์นิชและการลามิเนตในงานหลังพิมพ์สำหรับสิ่งพิมพ์กระดาษ.
เทคนิคหลังพิมพ์ หน่วยที่ 1-7. พิมพ์ครั้งที่ 2 พ.ศ. 2555. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. นนทบุรี.
18. สุวัฒน์ ตั่งโพธิสุวรรณ และสุณี ภูสีม่วง. (2563). บรรจุภัณฑ์แก้ว. พิมพ์ครั้งที่ 5. นนทบุรี. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
19. สุรเดช เหล่าแสงงาม และบุญชู ศิริสกาวกุล. (2539). เทคนิคงานหลังพิมพ์ 2. ความรู้เฉพาะวิชาชีพหลัง
การพิมพ์ 2. พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2339. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. นนทบุรี.
20. อุดม ควรผดุง. (2555). ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับงานหลังพิมพ์. เทคนิคหลังพิมพ์ หน่วยที่ 1-7. พิมพ์ครั้งที่ 2
พ.ศ. 2555. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. นนทบุรี.
21. อุดม ควรผดุง. (2555). งานเดินรอยร้อน งานดุนนูน และงานอัดตัดตามแม่แบบ. เทคนิคหลังพิมพ์
หน่วยที่ 1-7. พิมพ์ครั้งที่ 2 พ.ศ. 2555. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. นนทบุรี.
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 การสังเกตการณ์สอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
2.1 การสังเกตการณ์สอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ