ระเบียบวิธีวิจัยทางการออกแบบ

Research Methodology in Design

1. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับระเบียบแบบแผนวิจัยทางการออกแบบ
2. มีความเข้าใจเกี่ยวกับการเขียนโครงร่างงานวิจัย ตั้งแต่กระบวนการกำหนดปัญหางานวิจัย การหาวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง การสร้างเครื่องมือและเก็บรวบรวมข้อมูลสำหรับนำมาใช้ในการเขียนปัญหาของงานวิจัย
3. มีความเข้าใจการเขียนรายงานวิจัย และการนำเสนอโครงร่างผลงานวิจัย
ระเบียบแบบแผนวิจัยทางการออกแบบ การกำหนดปัญหาวิจัย การเขียนโครงร่างงานวิจัย วรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง การสร้างเครื่องมือ การเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล การสรุปผลการวิจัย การเขียนรายงานวิจัย และการนำเสนอผลงานวิจัย
2 ชั่วโมง โดยระบุวัน เวลา  ไว้ในตารางสอนและแจ้งให้นักศึกษาทราบในชั่วโมงแรกของการสอน
ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น มีจิตอาสา จิตสำนึกสาธารณะ
สอดแทรกกิจกรรมในระหว่างการสอนเกี่ยวกับคุณธรรม จริยธรรมในการสอนให้กับนักศึกษา สอดแทรกความรู้ทางด้านจรรยาบรรณด้านวิชาการและวิชาชีพให้กับนักศึกษาในรายวิชา สอนให้นักศึกษารู้จักหน้าที่ ความรับผิดชอบในการทำงานต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
1. การตรงต่อเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมาย
                2. ความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
1. มีความสามารถในการค้นคว้าแก้ปัญหา  และพัฒนาทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ อย่างเป็นระบบ
            2. รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรม และศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง
            3. มีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานหรือธรรมเนียมปฏิบัติในการประกอบวิชาชีพด้านศิลปกรรมศาสตร์ในสาขาวิชาที่ศึกษา
เน้นหลักการทฤษฏีระเบียบวิธีวิจัยและความเปลี่ยนแปลงหรือสถานการณ์ทางด้านบรรจุภัณฑ์

ในปัจจุบันเพื่อให้นักศึกษานำมาเป็นโจทย์ปัญหาในการกำหนดโครงร่างงานวิจัย
ประเมินผลจากการมอบหมายงาน
สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์และเสนอแนวทางแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์ สามารถค้นคว้า รวบรวมและประเมินข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายอย่างมีวิจารณญาณ สามารถบูรณาการความรู้กับศาสตร์อื่น เพื่อสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการและวิชาชีพได้
1. ให้นักศึกษาเสนอหัวข้อโครงร่างงานวิจัย และให้สืบค้นข้อมูลวิเคราะห์ สังเคราะห์และสรุปข้อมูล ตามวิธีการทำงานวิจัย และนำเสนอผลงาน
1. การปฏิบัติงานของนักศึกษาและการนำเสนอ
1. สามารถแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล ตรงไปตรงมา และเคารพในความคิดเห็นที่แตกต่าง
            2. มีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นอย่างมีประสิทธิภาพ
สอดแทรกเคารพสิทธิ   การยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น  และการวิพากษ์วิจารย์ของผู้อื่น

ให้กับนักศึกษา

ฝึกให้นักศึกษามีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี
1. พฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษาในการนำเสนอผลงานโครงร่างงานวิจัย
สามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียนในการสื่อสารโดยทั่วไปตลอดจนใช้วิธีการสื่อสารทาง

ศิลปกรรม และนำเสนองานได้อย่างมีประสิทธิภาพ

สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสร้างสรรค์ผลงานหรือการ

นำเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
            3. มีความสามารถในการประยุกต์ใช้ความรู้เชิงตัวเลข หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสมสำหรับงานศิลปกรรม
จัดกิจกรรมให้นักศึกษาได้นำเสนอการแก้ไขปัญหา ตลอดจนการประยุกต์การสืบค้นด้วย

เทคโนโลยี

นักศึกษาสามารถนำเสนอโดยใช้สื่อให้เหมาะสม
            1. การเลือกใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศเหมาะสมในการนำเสนอโครงร่างงานวิจัย
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรมจริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 3. ทักษะทางปัญญา 4 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1. ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม 2. มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น 3. มีจิตอาสา จิตสำนึกสาธารณะ 1. มีความสามารถในการค้นคว้าแก้ปัญหา และพัฒนาทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ อย่างเป็นระบบ 2. รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรม และศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง 3. มีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานหรือธรรมเนียมปฏิบัติในการประกอบวิชาชีพด้านศิลปกรรมศาสตร์ในสาขาวิชาที่ศึกษา 1. สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์และเสนอแนวทางแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์ 2. สามารถค้นคว้า รวบรวมและประเมินข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายอย่างมีวิจารณญาณ 3. สามารถบูรณาการความรู้กับศาสตร์อื่น เพื่อสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการและวิชาชีพได้ 1. สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์และเสนอแนวทางแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์ 2. สามารถค้นคว้า รวบรวมและประเมินข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายอย่างมีวิจารณญาณ 3. สามารถบูรณาการความรู้กับศาสตร์อื่น เพื่อสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการและวิชาชีพได้ 1. สามารถแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล ตรงไปตรงมา และเคารพในความคิดเห็นที่แตกต่าง 2. มีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นอย่างมีประสิทธิภาพ 1. สามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียนในการสื่อสารโดยทั่วไปตลอดจนใช้วิธีการสื่อสารทาง ศิลปกรรม และนำเสนองานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2. สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสร้างสรรค์ผลงานหรือการ นำเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3. มีความสามารถในการประยุกต์ใช้ความรู้เชิงตัวเลข หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสมสำหรับงานศิลปกรรม
1 BAACC403 ระเบียบวิธีวิจัยทางการออกแบบ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 คุณธรรม จริยธรรม 1. การตรงต่อเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมาย 2. ความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 10%
2 ความรู้ ประเมินผลจากการมอบหมายงาน 9 และ 17 30%
3 ทักษะทางปัญญา การปฏิบัติงานของนักศึกษาและการนำเสนอ ตลอดภาคการศึกษา 30%
4 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ พฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษาในการนำเสนอผลงานโครงร่างงานวิจัย ตลอดภาคการศึกษา 10%
5 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ การเลือกใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศเหมาะสมในการนำเสนอโครงร่างงานวิจัย ตลอดภาคการศึกษา 20%
ประเวศน์  มหารัตน์สกุล. (2557). หลักการและวิธีการเขียนงานวิจัย วิทยานิพนธ์ สารนิพนธ์. สำนักพิมพ์ปัญญาชน. กทม.
          สุภางค์  จันทวานิช. (2565). วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ. สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. กทม.
          ชุติมา  สัจจานันท์. (2566). การเขียนเพื่อการเผยแพร่งานวิจัย. สำนักพิมพ์สุโขทัยธรรมาธิราช. นนทบุรี.
          กัลยา  วานิชย์บัญชา. (2564). สถิติสำหรับงานวิจัย. หจก.สามลดา. กทม.
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกตการณ์สอน
2.2   ผลงานของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการนำเสนอผลงานโครงร่างงานวิจัยของนักศึกษาเป็นรายบุคคล
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในการขึ้นสอบโครงร่างงานวิจัยของนักศึกษา
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ