ออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมสร้างสรรค์

Innovative Industrial Product Design

1.1 เข้าใจหลักการออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมสร้างสรรค์
1.2 สามารถเขียนแบบและออกแบบการออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมสร้างสรรค์
1.3 นำความรู้ความเข้าใจไปประยุกต์ในการออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมสร้างสรรค์
2.1 เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจหลักการออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมสร้างสรรค์
2.2 เพื่อให้นักศึกษาสามารถเขียนแบบและออกแบบการออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมสร้างสรรค์
2.3 เพื่อให้นักศึกษานำความรู้ความเข้าใจไปประยุกต์ในการออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมสร้างสรรค์
ฝึกปฏิบัติ ออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมสร้างสรรค์ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์ ออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมต้นแบบ โดยเน้นความคิดรวบยอด ตามกระบวนการและขั้นตอนการออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
1 ชั่วโมง ต่อภาคการศึกษา
เพื่อให้สามารถดำเนินชีวิตร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างราบรื่น และประพฤติตนโดยคำนึงถึงประโยชน์ของส่วนรวม อาจารย์ที่สอนในแต่ละรายวิชา ต้องส่งเสริมให้นักศึกษาสามารถมีคุณธรรม จริยธรรมไปพร้อมกับวิชาการต่าง ๆ ดังนี้ 1.1 นักศึกษาสามารถแสดงพฤติกรรมและหน้าที่ของตนในทุกด้านของคุณธรรม จริยธรรม 1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ 1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม 1.4 เคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1.2.1 บรรยายหน้าชั้นเรียนยกตัวอย่างกรณีศึกษา ประเด็นที่เป็นกระแส และประเด็นที่น่าสนใจที่เกิดขึ้นในสังคม
1.3.1 พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายได้ตรงเวลา 1.3.2 พฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมของสาขา 1.3.3 พฤติกรรมการแสดงออกในชั้นเรียน 1.3.4 ประเมินผลรายบุคคล
2.1.1 มีความรู้แและความเข้า 2.1.2 สามารถพัฒนาและประยุกต์ทฤษฎีเพื่อใช้ในการออกแบบ 2.1.3 สามารถนำไปปฏิบัติงานได้จริง 2.1.4 สามารถนำเสนอผลงานที่มีความน่าสนใจและการสื่อสารที่ดีได้
2.2.1 บรรยายในชั้นเรียน พร้อมยกตัวอย่าง 2.2.2 สาธิตตัวอย่าง 2.2.3 จำลองสถานการณ์จริง
2.3.1 สอบกลางภาค สอบปลายภาค 2.3.2 คะแนนจากการประเมินงานทได้รับมอบหมาย
3.1.1 มีทักษะในการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ 3.1.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ 3.1.3 สามารถวิเคราะห์ รูปแบบวิธีการคิดและการแก้ปัญหาในการออกแบบได้อย่างสร้างสรรค์
3.2.1 บรรยายในชั้นเรียน พร้อมยกตัวอย่าง 3.2.2 ตอบคำถามในชั้นเรียน แสดงความคิดเห็น การแก้ปัญหา วิเคราะห์กรณีศึกษา 3.2.3 มอบหมายงานเดี่ยวและงานกลุ่ม 3.2.4 การสะท้อนให้เห็นถึงแนวติดจากพฤติกรรม
3.3.1 ผลงานตลอดภาคเรียน 3.3.2 ผลงานโครงการและการนำเสนอผลงาน 3.3.3 พฤติกรรมการแก้ปัญหา และความรับผิดชอบ
4.1.1 พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน 4.1.2 พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม 4.1.3 พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตัวเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
4.2.1 มอบหมายงานเป็นกลุ่มเพื่อจะได้ทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ และงานเป็นรายบุคคล 4.2.2 กำหนดหน้าที่รับผิดชอบรายบุคคลให้ชัดเจน 4.2.3 นำเสนอผลงานทั้งรายบุคคลและกลุ่ม
4.3.1 ประเมินจากงานที่นำเสนอ 4.3.2 ประเมินจากพฤติกรรมการทำงานเป็นทีม 4.3.3 ความรับผิดชอบต่อหน้าที่ในงานกลุ่ม
5.1.1 ทักษะวิเคราะห์เชิงตัวเลข 5.1.2 ทักษะการสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียนในการสื่อสารโดยการทำเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน 5.1.3 ทักษะการสืบค้นข้อมูลโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 5.1.4 ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนองาน
5.2.1 ใช้เทคโนโลยีสารสรเทศในการ บรรยาร ยกตัวอย่าง 5.2.2 แนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูลและคัดเลือกแหล่งข้อมูล 5.2.3 มอบหมายงานให้ค้นคว้าด้วยตนเอง จากเทคโนโลยีสารสนเทศ
5.3.1 ความถูกต้องของข้อมูลการสืบค้น ด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศที่ได้รับมอบหมาย 5.3.2 วิธีการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศ แหล่งข้อมูล ความน่าเชื่อถือ 5.3.3 ประเมินจากงานที่ได้รับมอบหมายให้นำเสนองานด้วยรูปแบบสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ 5.3.4 ประเมินจากการมีส่วนร่วมให้การนำเสนอ และอภิปราย
สามารถใช้ทักษะเพื่อปฏิบัติงานในการสร้างโครงการของตนเอง
6.2.1 บรรยาย สาธิต ถามตอบ ในชั้นเรียน 6.2.2 กรณีศึกษาที่เกี่ยวข้อง 6.2.3 ทำแบบฝึกหัดทักษะ 6.2.4 มอบหมายโครงการ
6.3.1 ประเมินจากผลงานที่ได้รับมอบหมาย 6.3.2 ประเมินจากความเข้าใจในรายวิชา
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 -ผลงาน -แบบฝึกหัด -การทํางานเป็นทีม -ความเข้าใจในรายวิชา 1-7 / 9-16 60%
2 1. สอบกลางภาค สอบปลายภาค 2. คะแนนจากการประเมินงานทได้รับมอบหมาย 8 / 17 20%
3 -การเข้าชั้นเรียน -การแต่งการ -ส่งงานตรงเวลา -การมีส่วนร่วม 1-7 / 9-16 10%
รศ.ดร. ทรงวุฒิ เอกวุฒิวงศา, 2562, ออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม 1, กรุงเทพมหานคร : หจก. มีน เซอร์วิส ซัพพลาย จำกัด
แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
2.1 การประเมินผลการเรียนของนักศึกษาโดยอาจารย์ผู้สอน 2.2 การทบทวนการสอบประเมินผลการเรียนรู้ 2.3 การประเมินผลการปฏิบัติของนักศึกษาโดยอาจารย์ผู้สอน
หลังจากได้ผมการประเมินการสอนในข้อ 2 จะมีการปรับปรุงการสอนโดยการจัดกิจกรรม ระดมสมอง และค้นคว้าหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน
ในระหว่างการสอนรายวิชา มีการทดสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในรายวิชา ได้จากการสอบถามนักศึกษา หรือการวสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทบทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้ การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
การดำเนินการทบทวนและการวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา จะมีการวางแผนการปรับปรุงการทดสอบและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้ ปรับปรุงรายวิชาทุกๆ 5 ปี หรือตามข้อเสนอแนะปรับปรุงการสอนในข้อ 3 และผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4