ระบบควบคุม
Control System
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจ และปฏิบัติเกี่ยวกับระบบควบคุมแบบวงรอบเปิดและวงรอบปิด ฟังก์ชันถ่ายโอน แบบจำลองคณิตศาสตร์ของระบบควบคุม การวิเคราะห์บล็อกไดอะแกรมและกราฟการไหลสัญญาณ การวิเคราะห์หาผลตอบสนองเชิงเวลาและเชิงความถี่ การออกแบบระบบควบคุม การวิเคราะห์เสถียรภาพ การชดเชยระบบควบคุม
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐาน เป็นการเตรียมความพร้อมในการนำความรู้ ความเข้าใจ สำหรับแก้ปัญหาทางด้านระบบควบคุมที่เกี่ยวข้องกับวิศวกรรมไฟฟ้า เพื่อเป็นพื้นฐานการเรียนในวิชาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง และเพื่อให้ทันกับการพัฒนาระบบควบคุมในปัจจุบัน
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับระบบควบคุมแบบวงรอบเปิดและวงรอบปิด ฟังก์ชันถ่ายโอน แบบจำลองคณิตศาสตร์ของระบบควบคุม การวิเคราะห์บล็อกไดอะแกรมและกราฟการไหลสัญญาณ การวิเคราะห์หาผลตอบสนองเชิงเวลาและเชิงความถี่
การออกแบบระบบควบคุม การวิเคราะห์เสถียรภาพ การชดเชยระบบควบคุม
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
1.แสดงออกซึ่งจิตสำนึกสาธารณะ และตระหนักในคุณค่าของคุณธรรมจริยธรรม จรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพครู ที่เสริมสร้างการพัฒนาที่ยั่งยืน
2.แสดงออกซึ่งการมีวินัย ขยัน อดทน เสียสละ ตรงต่อเวลา ความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม และเป็นแบบอย่างที่ดี
3.เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1. สอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม การเสียสละ ความซื่อสัตย์ต่อตนเอง และสังคม
2. ให้ความสำคัญกับวินัย การตรงต่อเวลา การส่งงานที่ได้รับมอบหมายภายในเวลาที่กำหนด
3. เน้นเรื่องการแต่งกายและปฏิบัติตนที่เหมาะสม ถูกต้อง ตามระเบียบข้อบังคับของมหาวิทยาลัย
4. ให้ปฏิบัติตามกฎระเบียบ และข้อบังคับของการใช้ห้องปฏิบัติการ 5. เน้นความรับผิดชอบทั้งต่อตนเอง และสังคม ทั้งในบทบาทของการเป็นผู้นำกลุ่มและการเป็นสมาชิกกลุ่ม 6. ปลูกฝังจรรยาบรรณวิชาชีพ
4. ให้ปฏิบัติตามกฎระเบียบ และข้อบังคับของการใช้ห้องปฏิบัติการ 5. เน้นความรับผิดชอบทั้งต่อตนเอง และสังคม ทั้งในบทบาทของการเป็นผู้นำกลุ่มและการเป็นสมาชิกกลุ่ม 6. ปลูกฝังจรรยาบรรณวิชาชีพ
1. ประเมินจากการตรงเวลาของนักศึกษาในภาพเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมายและการร่วมกิจกรรม
2. ประเมินจากการมีวินัยและพร้อมเพรียงของนักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร
3. ปริมาณการกระทำทุจริตในการสอบและการลอกการบ้าน
4. ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
5. ประเมินจากการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
1. สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีในสาขาวิชาชีพเฉพาะ รวมทั้งคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ และประเมินค่าองค์ความรู้ด้วยวิธีการที่เหมาะสม รวมทั้งตระหนักถึงความสำคัญของงานวิจัยเพื่อต่อยอดองค์ความรู้
2. สามารถนำหลักการและทฤษฎีในองค์ความรู้ที่ได้ศึกษาไปบูรณาการข้ามศาสตร์ และบูรณาการกับโลกแห่งความเป็นจริงได้อย่างเหมาะสม
1. บรรยายและยกตัวอย่างประกอบ
2. มอบหมายให้ทำแบบฝึกหัดของแต่ละบท
3. ปฏิบัติการประกอบวงจร แก้ปัญหา และใช้เครื่องมือในการวัดและทดสอบตามหัวเรื่องที่ศึกษา
3. ปฏิบัติการประกอบวงจร แก้ปัญหา และใช้เครื่องมือในการวัดและทดสอบตามหัวเรื่องที่ศึกษา
1. การทดสอบย่อย
2. การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
3. ประเมินจากการทำแบบฝึกหัด
4. ประเมินจากการทำรายงานการทดลอง 5. ประเมินจากปริมาณการเข้าปฏิบัติการทดลองและการส่งผลการปฏิบัติการทดลองในระหว่างชั่วโมงเรียน 6. ประเมินจากความถูกต้องของการต่อวงจร การใช้เครื่องมือวัดและทดสอบ และลำดับขั้นตอนในการทดลอง 7. ประเมินจากการทดสอบภาคปฏิบัติ
4. ประเมินจากการทำรายงานการทดลอง 5. ประเมินจากปริมาณการเข้าปฏิบัติการทดลองและการส่งผลการปฏิบัติการทดลองในระหว่างชั่วโมงเรียน 6. ประเมินจากความถูกต้องของการต่อวงจร การใช้เครื่องมือวัดและทดสอบ และลำดับขั้นตอนในการทดลอง 7. ประเมินจากการทดสอบภาคปฏิบัติ
1. มีจินตนาการในการใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจและแก้ปัญหาที่มีความสลับซับซ้อนในการประยุกต์ความรู้ทางด้านวิชาการและวิชาชีพ เพื่อพัฒนานวัตกรรม
2. มีทักษะในการเป็นผู้นำความรู้เพื่อการสืบค้นข้อมูล วินิจฉัย วิเคราะห์และสรุปประเด็นของสารสนเทศอย่างมีวิจารณญาณและเป็นระบบ
1. มอบหมายงานที่ส่งเสริมการคิด วิเคราะห์
2. มอบหมายให้ศึกษา ค้นคว้าเพิ่มเติมทั้งทางทฤษฎีและปฏิบัติในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับรายวิชา
3. มอบหมายให้นักศึกษาปฏิบัติการทดลองตามใบงานการทดลอง เริ่มจากการทำความเข้าใจวัตถุประสงค์ของการทดลอง ลำดับขั้นการทดลอง การเตรียมอุปกรณ์และเครื่องมือ การประกอบวงจร การเก็บผลการทดลอง การสรุปผลการทดลอง ตามที่ระบุในแต่ละใบงานการทดลอง 4. มอบหมายให้ศึกษา ค้นคว้าทฤษฎีเพิ่มเติมเพื่อเชื่อมโยงกับการทดลอง
3. มอบหมายให้นักศึกษาปฏิบัติการทดลองตามใบงานการทดลอง เริ่มจากการทำความเข้าใจวัตถุประสงค์ของการทดลอง ลำดับขั้นการทดลอง การเตรียมอุปกรณ์และเครื่องมือ การประกอบวงจร การเก็บผลการทดลอง การสรุปผลการทดลอง ตามที่ระบุในแต่ละใบงานการทดลอง 4. มอบหมายให้ศึกษา ค้นคว้าทฤษฎีเพิ่มเติมเพื่อเชื่อมโยงกับการทดลอง
1. สอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์ หรือวิเคราะห์แนวคิดในการประยุกต์ใช้
2. ประเมินผลจากการบ้านและรายงาน
3. สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
4. ประเมินผลจากการเชื่อมโยงทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับผลการทดลอง
4. ประเมินผลจากการเชื่อมโยงทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับผลการทดลอง
1. แสดงออกถึงการมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี สามารถรับรู้ความรู้สึกของผู้อื่น และมีวุฒิภาวะทางอารมณ์
2. สามารถวางตัวได้อย่างเหมาะสมตามบทบาท หน้าที่ การทำงานเป็นทีม ช่วยเหลือและเอื้อต่อการแก้ไขข้อขัดแย้งอย่างสร้างสรรค์ 3. สามารถวางแผนและรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้เพื่อให้เกิดความปลอดภัยในการทำงาน และมีจิตสำนึกต่อสังคมด้านการนำความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือได้อย่างเหมาะสม
2. สามารถวางตัวได้อย่างเหมาะสมตามบทบาท หน้าที่ การทำงานเป็นทีม ช่วยเหลือและเอื้อต่อการแก้ไขข้อขัดแย้งอย่างสร้างสรรค์ 3. สามารถวางแผนและรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้เพื่อให้เกิดความปลอดภัยในการทำงาน และมีจิตสำนึกต่อสังคมด้านการนำความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือได้อย่างเหมาะสม
1. มอบหมายการทำงานเป็นกลุ่มโดยให้หมุนเวียนการเป็นผู้นำและการเป็นสมาชิกในกลุ่ม
2. แนะนำการใช้เครื่องมืออย่างปลอดภัยในขณะทำการทดลอง
1. ประเมินพฤติกรรมภาวการณ์เป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี
2. สังเกตพฤติกรรมขณะปฏิบัติการทดลอง และการใช้เครื่องมือและอุปกรณ์อย่างถูกต้องและปลอดภัย
2. สังเกตพฤติกรรมขณะปฏิบัติการทดลอง และการใช้เครื่องมือและอุปกรณ์อย่างถูกต้องและปลอดภัย
1. มีทักษะในการเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือในการวิเคราะห์ข้อมูล ข่าวสารทั้งที่เป็นตัวเลขเชิงสถิติ คณิตศาสตร์ ภาษาพูดและภาษาเขียน อันมีผลทาให้สามารถเข้าใจองค์ความรู้หรือประเด็นปัญหาได้อย่างรวดเร็ว
2. สามารถใช้ดุลยพินิจในการสืบค้น วิเคราะห์ ประมวลผล แปลความหมายและประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
1. สอนใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ในการ วิเคราะห์ คำนวณและการทดลอง
2. ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือในการติดต่อสื่อสาร
2. ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือในการติดต่อสื่อสาร
1. ประเมินจากเทคนิคและความเข้าใจในการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ สำหรับวิเคราะห์ คำนวณและการทดลอง
2. ประเมินจากความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการติดต่อสื่อสาร
1. แสดงออกถึงการมีทักษะในการจัดการเรียนรู้ด้านการปฏิบัติงานในวิชาชีพเฉพาะ วิชาชีพครู การบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการ ที่มีรูปแบบหลากหลายอย่างบูรณาการและสร้างสรรค์
2. แสดงออกถึงการมีทักษะในการจัดการเรียนรู้ตามรูปแบบการสอน รวมถึงประยุกต์วิธีการสอนได้อย่างบูรณาการที่เหมาะสมกับเนื้อหาและสภาพของกลุ่มผู้เรียนที่หลากหลายอย่างมีนวัตกรรม
1. กำหนดระยะเวลาในการส่งงาน การปฏิบัติการทดลอง เพื่อฝึกทักษะในด้านการบริหารจัดการเวลา
2. มอบหมายงานปฏิบัติการทดลองเพื่อฝึกทักษะในด้านการใช้เครื่องมือ และอุปกรณ์
1. สังเกตุจากปริมาณการส่งงานล่าช้า การปฏิบัติการทดลองแล้วเสร็จทันเวลา
2. สังเกตพฤติกรรมขณะปฏิบัติการทดลอง และการใช้เครื่องมือและอุปกรณ์อย่างถูกต้องและปลอดภัย
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา | 1.คุณธรรม จริยธรรม | 2.ความรู้ | 3.ทักษะทางปัญญา | 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคลและความรับผิดชอบ | 5.ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ | 6.ด้านทักษะพิสัย | ||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ลำดับ | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | 1 | 2 | 3 | 4 | 1 | 2 | 3 | 1 | 2 | 1 | 2 | 3 | 4 | 1 | 2 | 3 | 1 | 2 |
1 | TEDEE118 | ระบบควบคุม |
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | หน่วยที่ 1-7 | สอบกลางภาคเรียน สอบปลายภาคเรียน | ตลอดภาคการศึกษา 9 17 | 25% 25% |
2 | ทุกการทดลอง | ตรวจรายงานการทดลอง/การสรุปผลการทดลอง/การตอบคำถามท้ายการทดลอง สอบปฏิบัติ | ตลอดภาคการศึกษา 16 | 10% 30% |
3 | หน่วยที่1-7 และทุกการทดลอง | เช็คชื่อเข้าชั้นเรียนและความตรงต่อเวลาในการส่งงานที่ได้รับมอบหมาย | ตลอดภาคการศึกษา | 10% |
โครงการสอนรายวิชาระบบควบคุม
Katsuhiko Ogata, Modern Control Engineering. Fifth Edition, Prentice Hall, 2010.
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.มุฑิตา สงฆ์จันทร์, ระบบควบคุม Control Systems. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยนเรศวร, 2561
ใบงานปฎิบัติการระบบควบคุม
ใบงานปฎิบัติการระบบควบคุม
เอกสารนำเสนอของอาจารย์ประจำวิชา
สืบค้นออนไลน์โดยใช้คำค้นหา : ระบบควบคุม ระบบควบคุมป้อนกลับ control system เป็นต้น
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
1.3 ข้อเสนอแนะผ่าน social network ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.2 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมินและทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ