ธุรกิจดิจิทัล
Digital Business
1. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้เกี่ยวกับกระบวนการทางธุรกิจดิจิทัล
2. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับระบบการวางแผนทรัพยากรองค์กร
3. เพื่อให้นักศึกษามีทักษะการใช้ระบบสารสนเทศเพื่อธุรกิจดิจิทัล
1.เพื่อให้นักศึกษามีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับระบบสารสนเทศเพื่อธุรกิจดิจิทัล
2. เพื่อให้นักศึกษามีทักษะการใช้ระบบสารสนเทศเพื่อธุรกิจดิจิทัล
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับความรู้เบื้องต้นของธุรกิจดิจิทัล องค์ประกอบและสถาปัตยกรรมของธุรกิจดิจิทัล เทคโนโลยีที่ใช้ในการทำธุรกิจดิจิทัล การวิเคราะห์และพัฒนาธุรกิจด้วยแบบจำลองธุรกิจ (Business Model Canvas) กระบวนการทางธุรกิจ ตัวแบบธุรกิจ หลักการของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ นวัตกรรมสำหรับธุรกิจดิจิทัล การวางแผนทรัพยากรองค์กร การจัดการห่วงโซ่อุปทาน การจัดการลูกค้าสัมพันธ์ ระบบการทำธุรกรรมในธุรกิจดิจิทัล สื่อสังคมออนไลน์กับธุรกิจดิจิทัล ความมั่นคงปลอดภัยในการทำธุรกรรมดิจิทัล กรณีศึกษาธุรกิจดิจิทัล รวมถึงแนวโน้มของธุรกิจดิจิทัลในอนาคต
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษานักศึกษาเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่มตามความต้องการ สัปดาห์ละ 1 ชั่วโมง (เฉพาะนักศึกษารายที่ต้องการ)
1. ตระหนักในคุณค่า คุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต
2. มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพและสังคม
3. มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ
4. เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น และเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
5. เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
6. สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการใช้คอมพิวเตอร์ต่อบุคคล องค์กร และสังคม
7. มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
2. มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพและสังคม
3. มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ
4. เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น และเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
5. เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
6. สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการใช้คอมพิวเตอร์ต่อบุคคล องค์กร และสังคม
7. มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
1. อาจารย์ผู้สอนสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพในการสอน
2. กำหนดให้มีวัฒนธรรมองค์กร เพื่อปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย
3. ให้ความสำคัญกับการเข้าชั้นเรียน การตรงต่อเวลา การแต่งกายตามระเบียบของมหาวิทยาลัย
4. มอบหมายงานกลุ่มที่เสริมสร้างการวางแผนการทำงาน การทำงานเป็นทีม การรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
2. กำหนดให้มีวัฒนธรรมองค์กร เพื่อปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย
3. ให้ความสำคัญกับการเข้าชั้นเรียน การตรงต่อเวลา การแต่งกายตามระเบียบของมหาวิทยาลัย
4. มอบหมายงานกลุ่มที่เสริมสร้างการวางแผนการทำงาน การทำงานเป็นทีม การรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
1. การเข้าเรียน การตรงต่อเวลา การแต่งกายที่ถูกต้องตามระเบียบของมหาวิทยาลัย
2. การส่งงานตามที่ได้รับมอบหมาย และการเข้าร่วมกิจกรรม
3. การสังเกตพฤติกรรมในการทำงานเป็นกลุ่ม
2. การส่งงานตามที่ได้รับมอบหมาย และการเข้าร่วมกิจกรรม
3. การสังเกตพฤติกรรมในการทำงานเป็นกลุ่ม
1. มีความรู้ระบบสารสนเทศธุรกิจในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์
2. มีความรู้ในการสื่อสารทั้งภายในและภายนอกองค์กร
3. มีความรู้พพื้นฐานทางโครงสร้างธุรกิจ
2. มีความรู้ในการสื่อสารทั้งภายในและภายนอกองค์กร
3. มีความรู้พพื้นฐานทางโครงสร้างธุรกิจ
1. เน้นการเรียนการสอนที่เป็น active learning
2. จัดให้มีการเรียนรู้จากการฝึกปฏิบัติ
3. ฝึกทักษะการใช้โปรแกรมระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
2. จัดให้มีการเรียนรู้จากการฝึกปฏิบัติ
3. ฝึกทักษะการใช้โปรแกรมระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
1. สอบกลางภาค สอบปลายภาค
2. ประเมินจากแบบฝึกหัดและแบบฝึกปฏิบัติ
3. ความรับผิดชอบในการส่งงานตามที่มอบหมาย
2. ประเมินจากแบบฝึกหัดและแบบฝึกปฏิบัติ
3. ความรับผิดชอบในการส่งงานตามที่มอบหมาย
1. คิดอย่างมีวิจารณญาณและอย่างเป็นระบบ
2. สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ
3. สามารถประยุกต์ความรู้และทักษะกับการแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสม
2. สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ
3. สามารถประยุกต์ความรู้และทักษะกับการแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสม
1. มอบหมายให้นักศึกษาค้นคว้าตามหัวข้อที่กำหนดให้
2. จัดกิจกรรมที่ส่งเสริมการคิดวิเคราะห์และทักษะการแก้ไขปัญหาอย่างเป็นระบบ
3. สาธิตตัวอย่างและกรณีศึกษา
2. จัดกิจกรรมที่ส่งเสริมการคิดวิเคราะห์และทักษะการแก้ไขปัญหาอย่างเป็นระบบ
3. สาธิตตัวอย่างและกรณีศึกษา
1. สอบกลางภาคและสอบปลายภาค
2. ประเมินจากงานที่มอบหมาย
2. ประเมินจากงานที่มอบหมาย
1. พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
2. พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม
3. พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
2. พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม
3. พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
1. จัดการเรียนการสอนที่เน้นการทำงานตามที่มอบหมาย
2. สอดแทรกความรับผิดชอบที่ได้รับมอบหมาย
2. สอดแทรกความรับผิดชอบที่ได้รับมอบหมาย
1. ประเมินความรับผิดชอบตามงานที่มอบหมาย
1. พัฒนาทักษะการคิดคำนวณเชิงตัวเลข
2. พัฒนทักษะการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การเขียน
3. พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์รายการสารสนเทศทางธุรกิจ
4. พัฒนาทักษะในการสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
2. พัฒนทักษะการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การเขียน
3. พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์รายการสารสนเทศทางธุรกิจ
4. พัฒนาทักษะในการสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
1. มอบหมายงานให้นักศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากแหล่งความรู้ต่าง ๆ
2. นำเสนองานโดยใช้รูปแบบเทคโนโลยีที่เหมาะสม
2. นำเสนองานโดยใช้รูปแบบเทคโนโลยีที่เหมาะสม
1. ประเมินจากการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน
2. ประเมินจากงาน และการนำเสนองานด้วยสื่อเทคโนโลยี
2. ประเมินจากงาน และการนำเสนองานด้วยสื่อเทคโนโลยี
1. สามารถใช้งานระบบสารสนเทศทางธุรกิจดิจิทัล
1. แสดงและฝึกปฏิบัติตามตัวอย่าง
1. พิจารณาจากงานที่มอบหมายให้นักศึกษา
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | สัปดาห์ที่ 1-4 , สัปดาห์ที่ 10-13 | ทดสอบย่อย | สัปดาห์ที่ 4 , สัปดาห์ที่ 13 | สัปดาห์ที่ 4 - 10% , สัปดาห์ที่ 13 - 10% |
2 | สัปดาห์ที่ 1 - 8 | สอบกลางภาค | สัปดาห์ที่ 9 | 25% |
3 | สัปดาห์ที่ 1-16 | สอบปลายภาค | สัปดาห์ที่ 17 | 25% |
4 | สัปดาห์ที่ 1-16 | การส่งงานตามที่มอบหมาย | ตลอดภาคการศึกษา | 15% |
5 | สัปดาห์ที่ 1-16 | การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม การถามตอบ การเสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน การแต่งกายและความประพฤติ | ตลอดภาคการศึกษา | 15% |
อุเทน เลานำทา. (2564). การประยุกต์โปรแกรมสำเร็จรูปทางการบัญชี.
เว็บไซต์ทั่วไปที่เกี่ยวข้องกับระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
1. การสังเกตจากพฤติกรรมของผู้เรียน
2. แบบประเมินผู้สอนและแบบประเมินรายวิชา
3. แลกเปลี่ยนความคิดเห็นในการจัดการเรียนการสอนระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
2. แบบประเมินผู้สอนและแบบประเมินรายวิชา
3. แลกเปลี่ยนความคิดเห็นในการจัดการเรียนการสอนระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1. การสังเกตการณ์การสอน
2. ผลการเรียนของนักศึกษา
3. การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
2. ผลการเรียนของนักศึกษา
3. การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
1. สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
2. การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
1. สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
2. การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชาได้จาก การสอบถามนักศึกษาหรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย และการให้คะแนนพฤติกรรมของนักศึกษาในการทำงาน
จากผลการประเมินและทวนสอบผลสัมฤทธิ์รายวิชา มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
1. ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
2. เปลี่ยนหรือสลับผู้สอน เพื่อให้นัศึกษามีมุมมองในระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
1. ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
2. เปลี่ยนหรือสลับผู้สอน เพื่อให้นัศึกษามีมุมมองในระบบสารสนเทศทางธุรกิจ