การกักเก็บพลังงาน
Energy Storage
เพื่อเข้าใจเทคโนโลยีการเก็บกักพลังงานไฟฟ้า สมดุลพลังงานของแหล่งกำเนิดและโหลดผู้ใช้ไฟฟ้า
เพื่อเข้าใจหลักการความจุไฟฟ้าและตัวเก็บประจุยิ่งยวด ความเหนี่ยวนำ ตัวเหนี่ยวนำเฟอร์ไรต์
เข้าใจเทคโนโลยีการแปลงผันกำลังไฟฟ้า เทคโนโลยีแบตเตอรี่ ระบบจัดการแบตเตอรี่ และมาตรฐานของการเก็บกักพลังงานไฟฟ้า
เพื่อเข้าใจหลักการปรับปรุงเสถียรภาพทางไฟฟ้า เมื่อเกิดไฟฟ้าขัดข้อง และการรักษาและปรับปรุงคุณภาพไฟฟ้าด้านความถี่
เพื่อเข้าใจการใช้พลังงานให้เกิดความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ของระบบกักเก็บพลังงานไฟฟ้า
เพื่อให้เป็นไปตามแผนพัฒนาหลักสูตรในปัจจุบัน
ศึกษาเกี่ยวกับระบบเก็บกักพลังงานไฟฟ้า การแปลงรูปพลังงาน เทคโนโลยีการเก็บกักพลังงานไฟฟ้า สมดุลพลังงานของแหล่งกำเนิดและโหลดผู้ใช้ไฟฟ้า ความจุไฟฟ้าและตัวเก็บประจุยิ่งยวด ความเหนี่ยวนำและตัวเหนี่ยวนำเฟอร์ไรต์ เทคโนโลยีการแปลงผันกำลังไฟฟ้า เทคโนโลยีแบตเตอรี่ แบตเตอรี่ตะกั่วกรด แบตเตอรี่ลิเธียมไอออน เทคโนโลยีระบบจัดการแบตเตอรี่ มาตรฐานของการเก็บกักพลังงานไฟฟ้า การเก็บกักพลังงานไฟฟ้านอกช่วงเวลาไฟฟ้าสูงสุด การปรับปรุงเสถียรภาพทางไฟฟ้าในช่วงเวลาที่เกิดไฟฟ้าขัดข้องหรือกรณีเกิดภัยพิบัติด้วยระบบเก็บกักพลังงานไฟฟ้า การรักษาและปรับปรุงคุณภาพไฟฟ้าด้านความถี่ และแรงดันด้วยระบบเก็บกักพลังงานไฟฟ้า และความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ของระบบเก็บกักพลังงานไฟฟ้า
3 ชัวโมง หรือได้จากเวลาว่างของอาจารย์ผู้สอนและนักศึกษาเป็นหลัก
มีวินัย ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กร และสังคม อีกทั้งสามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และ สรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ
บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา เกี่ยวกับประเด็นทางจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสำหรับการกักเก็บพลังงาน และการประหยัดพลังานโดยการสำรองไฟฟ้าที่ได้จากเทคโนโลยีแบตเตอรี่
อภิปรายกลุ่ม
กำหนดให้นักศึกษาหาตัวอย่างที่เกี่ยวข้อง หรือกำหนดบทบาทสมมุติ
พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
ประเมินผลการวิเคราะห์กรณีศึกษา
ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
1.มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการที่สำคัญ ทั้งในเชิงทฤษฎีและปฏิบัติในเนื้อหาของสาขาวิชาเฉพาะด้านทางวิศวกรรม
2. มีความคิดอย่างมีวิจารณญาณที่ดี
3.สามารถคิด วิเคราะห์ และแก้ไขปัญหาด้านวิศวกรรมได้อย่างมีระบบรวมถึงการใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2. มีความคิดอย่างมีวิจารณญาณที่ดี
3.สามารถคิด วิเคราะห์ และแก้ไขปัญหาด้านวิศวกรรมได้อย่างมีระบบรวมถึงการใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1. บรรยาย อภิปราย หลักการสำคัญของเนื้อหา
2. แจกแบบฝึกหัด และให้ทำพาวเวอร์พอยนำเสนอโดยนำเนื้อหาจากการอภิปรายมาสรุป
3. คิด วิเคราะห์จากสถานการณ์ที่ยกตัวอย่างได้
2. แจกแบบฝึกหัด และให้ทำพาวเวอร์พอยนำเสนอโดยนำเนื้อหาจากการอภิปรายมาสรุป
3. คิด วิเคราะห์จากสถานการณ์ที่ยกตัวอย่างได้
1. ทดสอบย่อย สอบกลางภาค และสอบปลายภาค โดยเน้นความเข้าใจ และการวิเคราะห์ข้อมูลตามเหตุและผล
2. ประเมินจากการนำเสนอผลการค้นคว้าข้อมูล
2. ประเมินจากการนำเสนอผลการค้นคว้าข้อมูล
สามารถคิด วิเคราะห์ และแก้ไขปัญหาด้านวิศวกรรมได้อย่างมีระบบรวมถึงการใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1. หมอบหมายงานให้นักศึกษา แบบฝึกหัด รายงาน
2. สรุปและวิเคราะห์ข้อมูลจากกรณีที่ศึกษา พร้อมอภิปราย
2. สรุปและวิเคราะห์ข้อมูลจากกรณีที่ศึกษา พร้อมอภิปราย
1. สอบกลางภาค และปลายภาค
2. วัดผลจากงานที่หมอบหมาย
3. สังเกตจากพฤติกรรมการมีส่วนรวมของนักศึกษา
2. วัดผลจากงานที่หมอบหมาย
3. สังเกตจากพฤติกรรมการมีส่วนรวมของนักศึกษา
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล | ไม่มีข้อมูล |
---|
- เอกสารประกบการเรียนการสารสอน ระบบสะสมพลังงาน Energy Storage System รองศาสตราจารย์ ดร.บุญยัง ปลั่งกลาง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
- Energy Storage Fundamentals, Materials and Applications Authors: Huggins, Robert.
- Energy Storage: Systems and Components :1st Edition :Alfred Rufer.
- Energy Storage: A Nontechnical Guide : by Richard Baxter.
- สยาม ควอลิตี้ เวิร์ค, 8 แหล่งพลังงานสำคัญของโลก (2564), ข้อมูลเมื่อ 16 มิถุนายน 2564
- ดร.ทัศชา ทรัพย์มีชัย, พลังงานหมุนเวียน (2565), ข้อมูลเมื่อ 3 มิถุนายน 2565
- กระทรวงพลังงาน, ข้อมูลสถานการณ์การใช้พลังงาน, สืบค้นเมื่อ 20 มิถุนายน 2567
- Energy Storage Fundamentals, Materials and Applications Authors: Huggins, Robert.
- Energy Storage: Systems and Components :1st Edition :Alfred Rufer.
- Energy Storage: A Nontechnical Guide : by Richard Baxter.
- สยาม ควอลิตี้ เวิร์ค, 8 แหล่งพลังงานสำคัญของโลก (2564), ข้อมูลเมื่อ 16 มิถุนายน 2564
- ดร.ทัศชา ทรัพย์มีชัย, พลังงานหมุนเวียน (2565), ข้อมูลเมื่อ 3 มิถุนายน 2565
- กระทรวงพลังงาน, ข้อมูลสถานการณ์การใช้พลังงาน, สืบค้นเมื่อ 20 มิถุนายน 2567
การกำเนิดพลังงาน และระบบการกักเก็บพลังงาน
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เช่น Wikipedia คำอธิบายศัพท์
1. การประเมินผลการจัดการเรียนการสอนผ่านเว็บไซต์ การประเมินวิธีการสอนระหว่างภาค โดยให้นักศึกษาให้ข้อคิดเห็น/ข้อเสนอแนะ
2. ส่งเสริมให้นักศึกษาแสดงความคิดเห็นต่อการเรียนการสอน และการพัฒนารายวิชาผ่านช่องทาง ต่าง ๆ เช่น โทรศัพท์ หรือพบปะพูดคุย
2. ส่งเสริมให้นักศึกษาแสดงความคิดเห็นต่อการเรียนการสอน และการพัฒนารายวิชาผ่านช่องทาง ต่าง ๆ เช่น โทรศัพท์ หรือพบปะพูดคุย
1. การประชุมร่วมของอาจารย์ในสาขาวิชา เพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและขอคำแนะนำ/ข้อเสนอแนะของอาจารย์ที่มีความรู้ในการใช้กลยุทธ์การสอน
2. อาจารย์ผู้รับผิดชอบ/อาจารย์ผู้สอนรายวิชา ขอความคิดเห็นและข้อเสนอแนะจากอาจารย์ท่านอื่น หลังการวางแผนกลยุทธ์การสอนสำหรับรายวิชา
3. การสอบถามจากนักศึกษา ถึงประสิทธิผลของการเรียนรู้จากวิธีการที่ใช้ โดยใช้แบบสอบถามหรือการสนทนากับกลุ่มนักศึกษา ระหว่างภาคการศึกษา โดยอาจารย์ผู้สอน
4. ประเมินจากการเรียนรู้ของนักศึกษา จากพฤติกรรมการแสดงออก การทำกิจกรรม และผลการสอบ
2. อาจารย์ผู้รับผิดชอบ/อาจารย์ผู้สอนรายวิชา ขอความคิดเห็นและข้อเสนอแนะจากอาจารย์ท่านอื่น หลังการวางแผนกลยุทธ์การสอนสำหรับรายวิชา
3. การสอบถามจากนักศึกษา ถึงประสิทธิผลของการเรียนรู้จากวิธีการที่ใช้ โดยใช้แบบสอบถามหรือการสนทนากับกลุ่มนักศึกษา ระหว่างภาคการศึกษา โดยอาจารย์ผู้สอน
4. ประเมินจากการเรียนรู้ของนักศึกษา จากพฤติกรรมการแสดงออก การทำกิจกรรม และผลการสอบ
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
1. สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
2. การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
1. สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
2. การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
1. ประเมินรายละเอียดรายวิชาว่าผลการเรียนรู้ที่กำหนดสอดคล้องกับความรับผิดชอบในหลักสูตร
2. ประเมินข้อสอบของรายวิชาว่าครอบคลุมผลการเรียนรู้ตามที่กำหนดในรายละเอียดวิชา
3. การเปรียบเทียบวิเคราะห์คะแนน
2. ประเมินข้อสอบของรายวิชาว่าครอบคลุมผลการเรียนรู้ตามที่กำหนดในรายละเอียดวิชา
3. การเปรียบเทียบวิเคราะห์คะแนน
อาจารย์ประจำวิชาทบทวนผลการประเมินประสิทธิผลของการสอนในวิชาที่รับผิดชอบในระหว่างภาคการศึกษา ปรับปรุงทันทีหลังจากข้อมูลที่ได้รับ เมื่อสิ้นภาคการศึกษา จัดทำรายงานผลการดำเนินการรายวิชา (มคอ.3 และหรือ มคอ.5) เสนอกรรมการบริหารหลักสูตร