ศิลปะภาพพิมพ์แกะไม้

Woodcut

1. เข้าใจระบบและขั้นตอนการทำงานศิลปะภาพพิมพ์แกะไม้ 2. เข้าใจกระบวนการสร้างสรรค์ผลงานทางทัศนศิลป์ด้วยศิลปะภาพพิมพ์แกะไม้ 3. รู้วัสดุอุปกรณ์ในการทำศิลปะภาพพิมพ์แกะไม้ 4. มีทักษะในการทำศิลปะภาพพิมพ์แกะไม้ 5. มีความคิดสร้างสรรค์ในการสร้างผลงานศิลปะภาพพิมพ์แกะไม้ 6. เห็นคุณค่าของงานศิลปะภาพพิมพ์แกะไม้
เอกสารประกอบการสอนฉบับนี้ เป็นเอกสารการเตรียมและวางแผนการสอนรายวิชา ศิลปะภาพพิมพ์ สำหรับสอนนักศึกษาหลักสูตรศิลปบัณฑิต สาขาวิชาทัศนศิลป์ ซึ่งมีเนื้อหาสาระเกี่ยวกับศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะภาพพิมพ์จากกระบวนการภาพพิมพ์แกะไม้ โดยความรู้จากความเข้าใจในศิลปะภาพพิมพ์แกะไม้นี้สามารถนำไปพัฒนาในผลงานสร้างสรรค์เฉพาะตนต่อ
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการพิมพ์ด้วยเทคนิคแม่พิมพ์และแกะไม้ โดยเน้นในการศึกษาค้นคว้าทดลองรูปแบบวิธีการและความคิดสร้างสรรค์
อาจารย์ผู้สอนจะให้คำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการแก่นักศึกษานอกชั้นเรียน จำนวน 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ และสื่อสารให้นักศึกษาได้ทราบกำหนดเวลาล่วงหน้า
 1 ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
 2  มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น    
 3 มีจิตอาสา จิตสำนึกสาธารณะ 
สอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรมในการสอน รวมทั้งจรรยาบรรณทางด้านวิชาการและวิชาชีพ ในรายวิชา  สอนให้มีระเบียบวินัย  ฝึกให้รู้หน้าที่ในการทำงาน มีความรับผิดชอบต่อตนเอง  สังคม และสิ่งแวดล้อม
การตรงเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนด ระยะเวลา ที่มอบหมาย และการเข้าร่วมกิจกรรม
1 รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรม และศาสตรอื่นที่เกี่ยวข้อง  
  2 มีความสามารถในการค้นคว้าแก้ปัญหา และพัฒนาทางด้านศิลปกรรมศาสตร์อย่างเป็นระบบ     
3 มีความรู้ในทางศิลปะที่สัมพันธ์กับบริบททางสังคม ภูมิปัญญาและวัฒนธรรม  
4 มีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานหรือธรรมเนียมปฏิบัติในการประกอบวิชาชีพด้านศิลปกรรมศาสตร์ในสาขาวิชาที่ศึกษา 
ใช้การเรียนการสอน โดยเน้นหลักการทางทฤษฎี และการปฏิบัติงาน ทั้งนี้เป็นไปตามลักษณะของรายวิชา ตลอดจนเนื้อหาสาระของรายวิชา
ประเมินจากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและผลการปฏิบัติงานของนักศึกษา ในด้านต่าง ๆ คือ 1. การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน  2. ประเมินจากรายงานที่นักศึกษาจัดทำ  3. ประเมินจากการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน  4. ประเมินจากผลงานที่ปฏิบัติ
1 สามารถค้นคว้า รวบรวมและประเมินข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายอย่างมีวิจารณญาน 
2 สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์และเสนอแนวทางแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์     
3 สามารถบูรณาการความรู้กับศาสตร์อื่นเพื่อสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการและวิชาชีพได้   
4 มีความคิดสร้างสรรค์และมีปฏิภาณไหวพริบในการสร้างผลงาน  
ใช้กรณีศึกษา  การมอบหมายงานให้นักศึกษาสืบค้นข้อมูลวิเคราะห์ สังเคราะห์และสรุปข้อมูล   การนำเสนองาน โดยอภิปรายเดี่ยวหรือกลุ่ม ร่วมแสดงความคิดเห็น  
ประเมินตามสภาพจริงจากผลงาน  การปฏิบัติงานของนักศึกษา  และการนำเสนองาน
1 มีภาวะผู้นำเข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเอง รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นและมนุษยสัมพันธ์ที่ดี 
2มีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นอย่างมีประสิทธิภาพ   
3 สามารถแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล ตรงไปตรงมา และเคารพในความคิดเห็นที่แตกต่าง
สอดแทรกเรื่องความสำคัญของการมีมนุษยสัมพันธ์ การมีมารยาททางสังคม  การเคารพสิทธิและการยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น   การประสานงานกับบุคคลภายนอก   การแสดงความคิดเห็น และการวิพากษ์วิจารณ์งานของผู้อื่น
สังเกตจากพฤติกรรมและการแสดงออกในการนำเสนองาน และผลงานกลุ่มในชั้นเรียนและประเมินจากพฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่างๆ
1 สามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียนในการสื่อสารโดยทั่วไปตลอดจนใช้วิธีการสื่อสารทางศิลปกรรม และนำเสนองานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2 สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสร้างสรรค์ผลงานหรือการนำเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ

3 มีความสามารถในการประยุกต์ใช้ความรู้เชิงตัวเลข หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสมสำหรับงานศิลปกรรม
-
-
สามารถใช้ทักษะปฏิบัติทางศิลปกรรมศาสตร์ในการสร้างสรรค์ผลงานของตน
ใช้วิธีการสอน ด้วยวิธีฝึกสร้างภาพร่างทำตามใบงานที่กำหนดให้ และการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วย
ประเมินตามสภาพจริงโดยประเมินจากการปฏิบัติงานและผลงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม 2 มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น 3 มีจิตอาสา จิตสำนึกสาธารณะ 1 รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรม และศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง 2 มีความสามารถในการค้นคว้าแก้ปัญหา และพัฒนาทางด้านศิลปกรรมศาสตร์อย่างเป็นระบบ 3 มีความรู้ในทางศิลปะที่สัมพันธ์กับบริบททางสังคม ภูมิปัญญาและวัฒนธรรม 4 มีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานหรือธรรมเนียมปฏิบัติในการประกอบวิชาชีพด้านศิลปกรรมศาสตร์ในสาขาวิชาที่ศึกษา 1 สามารถค้นคว้า รวบรวมและประเมินข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายอย่างมีวิจารณญาน 2 สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์และเสนอแนวทางแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์ 3 สามารถบูรณาการความรู้กับศาสตร์อื่นเพื่อสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการและวิชาชีพได้ 4 มีความคิดสร้างสรรค์และมีปฏิภาณไหวพริบในการสร้างผลงาน 1 มีภาวะผู้นำเข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเอง รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นและมนุษยสัมพันธ์ที่ดี 2 มีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3 สามารถแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล ตรงไปตรงมา และเคารพในความคิดเห็นที่แตกต่าง 1 สามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียนในการสื่อสารโดยทั่วไปตลอดจนใช้วิธีการสื่อสารทางศิลปกรรมและนำเสนองานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2 สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการ สร้างสรรค์ผลงานหรือการนำเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3 มีความสามารถในการประยุกต์ใช้ความรู้เชิงตัวเลข หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสมสำหรับงานศิลปกรรม สามารถใช้ทักษะปฏิบัติทางศิลปกรรมศาสตร์ในการสร้างสรรค์ผลงานของตน
1 BFAVA200 ศิลปะภาพพิมพ์แกะไม้
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.2,2.4,3.2,3.4,6.2 การนำเสนอผลงานตามหัวข้อหน่วยที่ 1,2 สอบกลางภาค การนำเสนอผลงานตามหัวข้อหน่วยที่ 3,4 สอบปลายภาค 4,6,8, 9, 11,13,15,17 90
2 1.1 ประเมินการนำเสนอในแต่ละครั้ง จิตพิสัย ความสนใจ การเรียนสม่ำเสมอ การแต่งกายสะอาด การเข้าชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10
1.  กมล คงทอง. ศิลปะภาพพิมพ์ในประเทศไทย. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์, 2543 2.  กมล ศรีวิชัยนันท์,ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ที่มาของแรงบันดาลใจในการสร้างศิลปะ.เอกสารประกอบการ      สอนวิชาภาพพิมพ์ คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 3.  ชลูด นิ่มเสมอ. องค์ประกอบของศิลปะ. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์อมรินทร์, 2557 4.  อิทธิพล ตั้งโฉลก. ทศวรรรษภาพพิมพ์-แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลง.กรุงเทพมหานคร, 2535 5.  อัศนีย์ ชูอรุณ.ผู้ช่วยศาสตราจารย์,ความรู้เกี่ยวกับศิลปะภาพพิมพ์. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์      อมรินทร์, 2532 
แหล่งอ้างอิงที่สำคัญอื่นๆที่เกี่ยวข้องกับศิลปะภาพพิมพ์
- วารสาร ศิลปะทั้งในและต่างประเทศ เช่น Art in America วารสารจากสถาบันต่างๆ - สื่ออิเล็กทรอนิกส์ เว็บไซต์ ที่เกี่ยวข้องกับศิลปะภาพพิมพ์  แก้ไข