การผลิตพืชและสัตว์สำหรับวิศวกร

Crop and Animal Production for Engineers

     เพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจในคำศัพท์สำคัญทางการเกษตร การจำแนกชนิดและพันธุ์พืช ระบบการปลูกพืช ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการผลิตพืช การขยายพันธุ์พืช การปลูก การดูแลรักษา การเก็บเกี่ยว วิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวและการตลาด ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากพืช สภาพและระบบการผลิตสัตว์เศรษฐกิจและสัตว์น้ำที่สำคัญ ลักษณะประจำพันธ์ของสัตว์เศรษฐกิจและสัตว์น้ำ รูปแบบการเลี้ยงปลาแบบต่างๆ การเลี้ยงดูและการให้อาหารระยะต่างๆ การเก็บเกี่ยวและการลำเลียงปลา โรคและการสุขาภิบาล การตลาด ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากสัตว์ เพื่อให้ผู้เรียนตระหนักถึงความสำคัญของการเกษตรต่อการพัฒนาประเทศไทย เพื่อให้ผู้เรียนได้ฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการผลิตพืชและการผลิตสัตว์
    รายวิชานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสนับสนุนการเรียนรู้ให้กับนักศึกษาเกี่ยวกับบทบาทและความสำคัญของการผลิตพืชและการผลิตสัตว์ ที่มีต่อการพัฒนาภาคการเกษตรในประเทศไทย ซึ่งรายวิชานี้จะมีการจัดการเรียนการสอนแบบเน้นการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem Based Learning) มากขึ้น เพื่อให้นักศึกษาได้มีส่วนร่วมในการอภิปราย วิเคราะห์และแก้ไขปัญหาในสถานการณ์ที่แตกต่างกันออกไป
         ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการจำแนกชนิดและพันธุ์พืช ระบบการปลูกพืช ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการผลิตพืช การขยายพันธุ์พืช รูปแบบการปลูกพืช การเก็บเกี่ยว วิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวและการตลาด ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเลี้ยงสัตว์ อาหารสัตว์ โรคและการสุขาภิบาล มาตรฐานที่เกี่ยวข้องกับการเกษตร และการศึกษาดูงานนอกสถานที่
- จัดเวลาให้นักศึกษาเข้าพบเพื่อขอคำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการสัปดาห์ละ 1 ชั่วโมง โดยใช้วิธีนักศึกษานัดหมายอาจารย์ล่วงหน้า
- นักศึกษาสามารถติดต่อได้ทาง e-mail address: panupong0205@gmail.com
.1 คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา
1.มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม 2.มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ 3.มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
1.ให้ความสำคัญในวินัย การตรงต่อเวลา การส่งงานภายในเวลาที่กำหนด 2. เน้นเรื่องการแต่งกายและปฏิบัติตนที่เหมาะสมถูกต้องตามระเบียบข้อบังคับของมหาวิทยาลัย 3. สอดแทรกความซื่อสัตย์ต่อตนเอง และสังคม สอนหลักพุทธธรรม คุณงามความดี ที่มีต่อตนเองและสังคม
1.3 วิธีการประเมินผล
1. การขานชื่อ การให้คะแนนการเข้าชั้นเรียนและการส่งงานตรงเวลา 2. สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ อย่างต่อเนื่อง จากการขานชื่อการให้คะแนนเข้าชั้นเรียน 3. - ประเมินปริมาณการทุจริตในการสอบ สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ อย่างต่อเนื่อง จากการขานชื่อการให้คะแนนเข้าชั้นเรียน
1. มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 2. สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
1. ใช้การสอนหลายรูปแบบ โดยเน้นหลักทางทฤษฎีและการปฏิบัติ เพื่อให้เกิดองค์ความรู้ 2. นำนักศึกษาออกไปทำกิจกรรมการบริการวิชาการ และถ่ายทอดเทคโนโลยี ให้ชุมชนและยังได้นำองค์ความรู้จากภายนอกมาถ่ายทอดให้นักศึกษาในชั้นเรียน ด้วยวิธีการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
1. ประเมินจากแบบทดสอบด้านทฤษฎี สำหรับการปฏิบัติประเมินจากผลงานและการปฏิบัติการ 2. ประเมินด้านความรู้จากกิจกรรม.........ของผู้เรียน
1. มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการ และวิชาชีพ 2. มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
1. ส่งเสริมการเรียนรู้จากการแก้ปัญหา ( Problem Based Instruction)และนำงานวิจัยมาเสริมทักษะแก่ผู้เรียน 2. มอบหมายงานที่ส่งเสริมการคิด วิเคราะห์และสังเคราะ
1. ประเมินจากการรายงานผลการดำเนินงานและการแก้ปัญหา 2. ประเมินจากผลงานที่มอบหมาย/การทดสอบย่อย
1. มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี 2. มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3. สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
1. ให้คำแนะนำในการเข้าร่วมกิจกรรมสโมสรกิจกรรมของมหาวิทยาลัยฯเพื่อส่งเสริมทักษะการอยู่ในสังคม 2. กำหนดการทำงานกลุ่มโดยให้หมุนเวียนการเป็นผู้นำ การเป็นสมาชิกกลุ่มและผลัดกันเป็นผู้รายงาน 3. ให้ความสำคัญในการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบและการให้ความร่วมมือ
1. ประเมินผลจากแบบประเมินตนเองและกิจกรรมกลุ่ม 2. ประเมินจากการรายงานหน้าชั้นเรียนโดยอาจารย์และนักศึกษา 3. ประเมินพฤติกรรมภาวะการเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี
1. สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม 2. สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม 3. สามารถใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1.ส่งเสริมให้มีการตัดสินใจบนฐานข้อมูลและข้อมูลเชิงตัวเลข 2. ใช้ศักยภาพทางคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนอผลงานที่ได้รับมอบหมาย 3. มอบหมายงานค้นคว้าองค์ความรู้จากแหล่งข้อมูลต่างๆ และให้นักศึกษานำเสนอหน้าชั้น
1. สังเกตพฤติกรรมนักศึกษาด้านความมีเหตุผลและมีการบันทึกเป็นระยะ 2. สังเกตพฤติกรรมนักศึกษาด้านความมีเหตุผลและมีการบันทึกเป็นระยะ 3. ประเมินจากผลงานและการนำเสนอรายงานด้วยสื่อภาษาต่างประเทศ
1. มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์ และวิธีการได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2. มีทักษะในการปฏิบัติงานกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ และมีความร่วมมือกันเป็นอย่างดี
1. ใช้ศักยภาพทางคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนอผลงานที่ได้รับมอบหมาย 2. ปฏิบัติงานกลุ่มตามที่ไ้รับมอบหมายจากการปฏิบัติงานจากของจริง
1. สังเกตพฤติกรรมนักศึกษาจากการปฏิบัติงานร่วมกัน 2. ทดสอบการปฏิบัติงานรายบุคคล หรือ รายกลุ่ม 3. ประเมินจากผลงานและที่ได้รับมอบหมาย
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 ปฐมนิเทศนักศึกษา สิ่งที่ควรปฏิบัติก่อน ระหว่าง และหลังการฝึกงาน การยกตัวอย่างกรณีศึกษา 2.1 นักศึกษาปฏิบัติงานประจำวันด้วยตนเอง ภายใต้การดูแลของพี่เลี้ยง 3.1 การฝึกปฏิบัติจริง 1.2 การมอบหมายให้นักศึกษาบันทึกการปฏิบัติงานประจำวัน กำหนดให้นักศึกษาปฏิบัติตาม กฎระเบียบเช่นเดียวกับพนักงานประจำ และหรือมอบหมายงานที่ต้องใช้ความพยายามอดทน 3.2 นักศึกษาจัดทำรายงานการปฏิบัติงาน 2.1 นักศึกษาปฏิบัติงานประจำวันด้วยตนเอง ภายใต้การดูแลของพี่เลี้ยง 2.2 นักศึกษาเรียนรู้การปฏิบัติงานด้วยตนเอง จากการปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่นในสถานที่ฝึกงานและหรือจากเอกสารประกอบการปฏิบัติงาน 3.2 นักศึกษาจัดทำรายงานการปฏิบัติงาน 3.2 นักศึกษาจัดทำรายงานการปฏิบัติงาน 3.1 การฝึกปฏิบัติจริง
1 ENGAG128 การผลิตพืชและสัตว์สำหรับวิศวกร
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 4.1.3, 4.2.1, 4.3.1 4.5.3 ทดสอบย่อยครั้งที่ 1 สอบกลางภาค ทดสอบย่อยครั้งที่ 2 สอบปลายภาค 5, 8, 11, 16 10% 20% 10% 20%
     มาตรฐานเกษตรอินทรีย์มาตรฐานเกษตรอินทรีย์ ที่มา : http://www.greennet.or.th/article/1125 ข้อกำหนดการตรวจรับรองเกษตรอินทรีย์ ที่มา : http://actorganic- ระบบการผลิตที่ถูกต้องในฟาร์ม GAP (Good Agricultural Practice) ที่มา : http://www.mamafreshly.com/%E0% มาตรฐานสินค้าเกษตร ที่มา : http://www.acfs.go.th/agri_standards.php
   มาตรฐานเกษตรอินทรีย์มาตรฐานเกษตรอินทรีย์ ที่มา : http://www.greennet.or.th/article/1125 ข้อกำหนดการตรวจรับรองเกษตรอินทรีย์ ที่มา : http://actorganic- ระบบการผลิตที่ถูกต้องในฟาร์ม GAP (Good Agricultural Practice) ที่มา : http://www.mamafreshly.com/%E0% มาตรฐานสินค้าเกษตร ที่มา : http://www.acfs.go.th/agri_standards.ph