การเตรียมความพร้อมฝึกประสบการณ์วิชาชีพทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
Preparation for Field Experience in Information Technology
เพื่อให้นักศึกษาได้ฝึกทักษะความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับรูปแบบและกระบวนการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ความสำคัญของการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ หลักการเขียนจดหมายสมัครงาน การเลือกสถานประกอบการ หลักการสัมภาษณ์งานอาชีพ จรรยาบรรณวิชาชีพ คุณธรรมจริยธรรม กฎหมายแรงงาน ประกันสังคม กิจกรรม 5 ส ระบบมาตรฐานการประกันคุณภาพและความปลอดภัยในการทำงาน การเขียนรายงาน การนำเสนอผลงาน วัฒนธรรมองค์กร การพัฒนาบุคลิกภาพและคุณลักษณะที่เหมาะสมกับวิชาชีพด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
ฝึกทักษะความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับรูปแบบและกระบวนการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ความสำคัญของการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ หลักการเขียนจดหมายสมัครงาน การเลือกสถานประกอบการ หลักการสัมภาษณ์งานอาชีพ จรรยาบรรณวิชาชีพ คุณธรรมจริยธรรม กฎหมายแรงงาน ประกันสังคม กิจกรรม 5 ส ระบบมาตรฐานการประกันคุณภาพและความปลอดภัยในการทำงาน การเขียนรายงาน การนำเสนอผลงาน วัฒนธรรมองค์กร การพัฒนาบุคลิกภาพและคุณลักษณะที่เหมาะสมกับวิชาชีพด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ การประเมินผลในรายวิชาเป็นระดับคะแนน พอใจ(S) และไม่พอใจ(U)
3.1 วันพุธ เวลา 15.00 - 16.00 น. ห้องเทคโนโลยีสารสนเทศ โทร 055-298465 ต่อ 1151
3.2 e-mail; amitta@rmutl.ac.th, 24 ชั่วโมงทุกวัน
1.2 มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพและสังคม
1.3 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามสามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ
1.7 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
1.3 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามสามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ
1.7 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
การสอนแบบบรรยายพร้อมยกตัวอย่างและฝึกปฏิบัติงาน เปิดโอกาสให้นักศึกษาซักถาม กำหนดให้มีวัฒนธรรมองค์กรเพื่อปลูกฝังให้นักศึกษาเคารพกฏระเบียบข้อบังคับต่างๆและมีวินัย เน้นการเข้าห้องเรียนให้ตรงเวลา ตลอดจนการแต่งกายให้ถูกระเบียบของมหาวิทยาลัย มีความซื่อสัตย์โดยไม่ทุจริตในการสอบหรือลอกการบ้านหรือผลงานของผู้อื่น
พิจารณาจากการส่งงานของนักศึกษาที่เป็นแบบฝึกหัดและงานที่ได้รับมอบหมายอย่างถูกต้องและตรงเวลา การนำเสนองาน การสังเกตพฤติกรรม การเข้าห้องเรียน การแต่งกายถูกระเบียบของมหาวิทยาลัย
2.4 สามารถติดตามความก้าวหน้าและวิวัฒนาการคอมพิวเตอร์รวมทั้งการนำไปประยุกต์
2.6 มีความรู้ในแนวกว้างของสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเล็งเห็นการเปลี่ยนแปลงและเข้าใจผลกระทบของเทคโนโลยีใหม่
2.6 มีความรู้ในแนวกว้างของสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเล็งเห็นการเปลี่ยนแปลงและเข้าใจผลกระทบของเทคโนโลยีใหม่
การสอนแบบบรรยายและฝึกปฏิบัติ ที่ครอบคลุมเนื้อหาทางทฤษฎีและปฏิบัติทั้งหมดในรายวิชาโดยใช้สื่อประกอบการสอน
ประเมินผลจากการสอบกลางภาคและปลายภาคด้วยข้อสอบที่เน้นทฤษฎีและปฏิบัติ ประเมินผลจากแบบฝึกหัดและงานที่ได้รับมอบหมาย ประเมินจากการทำรายงานและการนำเสนอ
3.2 สามารถสืบค้นตีความและประเมินสารสนเทศเพื่อให้ในการแก้ไขปัญหาอย่างสร้างสรรค์
3.3 สามารถรวบรวมศึกษาวิเคราะห์และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ
3.3 สามารถรวบรวมศึกษาวิเคราะห์และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ
การสอนแบบบรรยายและฝึกปฏิบัติ ที่ครอบคลุมเนื้อหาทางทฤษฎีและปฏิบัติทั้งหมดในรายวิชา ในการนำเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ในปัจจุบันและการออกแบบในอนาคต การมอบหมายให้นักศึกษาทำรายงาน นำเสนอรายงาน เปิดโอกาสให้นักศึกษาซักถามเพื่อแสดงความคิดเห็นระหว่างผู้สอนกับนักศึกษา และระหว่างนักศึกษากับนักศึกษา
ประเมินผลจากการสอบกลางภาคและปลายภาคด้วยข้อสอบที่เป็นทั้งทฤษฎีและปฏิบัติ ประเมินจากการทำรายงานและการนำเสนอ สังเกตพฤติกรรมในการแก้ไขปัญหา
4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ที่ต้องพัฒนา
4.4 มีความรับผิดชอบในการกระทำของตนเองและรับผิดชอบงานในกลุ่ม
4.6 มีความรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
4.4 มีความรับผิดชอบในการกระทำของตนเองและรับผิดชอบงานในกลุ่ม
4.6 มีความรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
มอบหมายรายงานรายบุคคลและการนำเสนอรายงาน
ประเมินการเข้าชั้นเรียนและการตรงต่อเวลาของนักศึกษา ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ
5.1 มีทักษะในการใช้เครื่องมือที่จำเป็นที่มีอยู่ในปัจจุบันต่อการทำงานที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
5.3 สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งปากเปล่าและการเขียนเลือกใช้รูปแบบของสื่อการนำเสนออย่างเหมาะสม
5.4 สามารถใช้สารสนเทศและเทคโนโลยีสื่ออย่างเหมาะสม
5.3 สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งปากเปล่าและการเขียนเลือกใช้รูปแบบของสื่อการนำเสนออย่างเหมาะสม
5.4 สามารถใช้สารสนเทศและเทคโนโลยีสื่ออย่างเหมาะสม
- การนำเสนอรายงาน
- การมอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
ประเมินจากรายงานและการนำเสนอด้วยสื่อทางเทคโนโลยี
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา | 1. ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา(Ethics and Moral) | 2. ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ(Knowledge) | 3. ด้านทักษะทางปัญญา | 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา | 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา | |||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ลำดับ | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | 1.2 มีวินัยตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเองวิชาชีพและสังคม | 1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม | 1.7 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ | 2.4 สามารถติดตามความก้าวหน้าและวิวัฒนาการคอมพิวเตอร์รวมทั้งการนำไปประยุกต์ | 2.6 มีความรู้ในแนวกว้างของสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเล็งเห็นการเปลี่ยนแปลงและเข้าใจผลกระทบของเทคโนโลยีใหม่ๆ | 3.2 สามารถสืบค้นตีความและประเมินสารสนเทศเพื่อให้ในการแก้ไขปัญหาอย่างสร้างสรรค์ | 3.3 สามารถรวบรวมศึกษาวิเคราะห์และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ | 4.1 สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนหลากหลายและสามารถสนทนาทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศอย่างมีประสิทธิภาพ | 4.4 มีความรับผิดชอบในการกระทำของตนเองและรับผิดชอบงานในกลุ่ม | 4.6 มีความรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง | 5.3 สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งปากเปล่าและการเขียนเลือกใช้รูปแบบของสื่อการนำเสนออย่างเหมาะสม | 5.4 สามารถใช้สารสนเทศและเทคโนโลยีสื่ออย่างเหมาะสม |
1 | BSCCT907 | การเตรียมความพร้อมฝึกประสบการณ์วิชาชีพทางเทคโนโลยีสารสนเทศ |
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | 2.4,2.6,3.2 | สอบกลางภาค | 6 | 30% |
2 | 2.4,2.6,3.2,3.3 | สอบปลายภาค | 17 | 30% |
3 | 1.2,1.3,1.7,4.1,4.4,4.6 | การเข้าชั้นเรียน และการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน การเคารพกฎข้อคับ | ตลอดภาคการศึกษา | 10% |
4 | 1.7,3.2.4,2.6,4.1,4.4,4.,5.1,5.3,5.4 | นำเสนอผลงาน | 4 | 15% |
5 | 1.2,1.3,1.7,4.1,4.4,4.6 | จิตพิสัย | ตลอดภาคการศึกษา | 10% |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา. (2567). ระเบียบ ประกาศ และคำสั่งที่เกี่ยวข้องกับงานสหกิจศึกษาและฝึกงาน, link https://academic.rmutl.ac.th/page/coop_and_job
นักศึกษาประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ด้านวิธีการสอน สิ่งสนับสนุนการเรียนการโดย
1.1 แบบประเมินความพึงพอใจการเรียนการสอน โดยฝ่ายวิชาการของมหาวิทยาลัย
1.2 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
การเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 การพิจารณาผลการเรียนของนักศึกษา
2.2 การพิจารณาผลงานที่มอบหมาย
2.3 การขอรับคำปรึกษาและสังเกตการณ์ของผู้สอน
หลังจากทราบผลการประเมินการสอน จึงมีการปรับปรุงการเรียนการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1 รวบรวมปัญหาการเรียนของนักศึกษาและแนวทางแก้ไข โดยพิจารณาจากประเด็นในการประเมินความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนการสอนของนักศึกษา
3.2 การจัดทำและพัฒนาเอกสารประกอบการสอน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์จากการเรียนรู้ในวิชา ได้จากการสอบถามนักศึกษาหรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบ และหลังการออกผลการเรียน มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 มีการให้ข้อมูลย้อนกลับแก่นักศึกษา เพื่อนำไปพัฒนาการเรียนรู้ของตนเอง
4.2 ให้นักศึกษามีโอกาสตรวจสอบคะแนนก่อนรายงานผลการเรียน
ผลการประเมินจากนักศึกษา หรือทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชาเพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น โดยมีการปรับปรุงเนื้อหา ตัวอย่างที่ใช้ในการเรียนการสอนให้ทันต่อเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงไป