วาดเส้นสำหรับงานออกแบบสื่อสาร

Drawing for Communication Design

1. ให้นักศึกษาได้รู้จักเกี่ยวกับการวาดเขียน เพื่อออกแบบร่างที่เกี่ยวข้องกับหุ่นนิ่ง คน สัตว์ สิ่งของ และทัศนียภาพ เพื่อประยุกต์ใช้ในงานออกแบบสื่อสารที่เกี่ยวข้องกับงานออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์ สื่อโทรทัศน์ และสื่อมัลติมีเดีย  2. ให้นักศึกษาได้ฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการวาดเขียน เพื่อออกแบบร่างที่เกี่ยวข้องกับหุ่นนิ่ง คน สัตว์ สิ่งของ และทัศนียภาพ  เพื่อประยุกต์ใช้ในงานออกแบบสื่อสารที่เกี่ยวข้องกับงานออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์ สื่อโทรทัศน์ และสื่อมัลติมีเดีย
เพื่อให้สอดคล้องกับการศึกษาในศตวรรษที่ 21
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการวาดเขียน เพื่อออกแบบร่างที่เกี่ยวข้องกับหุ่นนิ่ง คน สัตว์ สิ่งของ และทัศนียภาพ เพื่อประยุกต์ใช้ในงานออกแบบสื่อสารที่เกี่ยวข้องกับงานออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์ สื่อโทรทัศน์ และสื่อมัลติมีเดีย 
 
1. นักศึกษาสามารถเข้าพบและขอคำปรึกษาได้นอกเวลาเรียนตามต้องการ  2. จัดเวลาให้คำปรึกษาตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ) 
ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
เช็คชื่อเข้าชั้นเรียน
ประเมินจากการตรงต่อเวลาในการเข้าชั้นเรียน
มีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานหรือธรรมเนียมปฏิบัติในการประกอบวิชาวาดเส้นสำหรับงานออกแบบสื่อสาร
บรรยายเรื่องการวาดคน สัตว์ ทัศนียภาพ การออกแบบร่าง
ประเมินจากการสอบทฤษฎี
มีความคิดสร้างสรรค์และมีปฏิภาณไหวพริบในการสร้างผลงาน
บรรยายสีหน้า ท่าทาง สัตว์ และทิวทัศน์ แล้วสั่งงานวาดตนเองในแบบสร้างสรรค์ และสัตว์ในทิวทัศน์
ประเมินจากความสร้างสรรค์ของผลงาน
ภาวะผู้นำเข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเอง รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น และมนุษยสัมพันธ์ที่ดี
บรรยายเรื่องการออกแบบร่าง และมอบหมายให้เป็นงานกลุ่ม
ประเมินจากคุณภาพของผลงาน และการร่วมกันคิดเพื่อตอบข้อซักถาม
สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสร้างสรรค์ผลงานหรือการนำเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
บรรยายเรื่องการออกแบบร่าง และมอบหมายงานให้นำเสนอหน้าชั้นเรียน
ประเมินจากประสิทธิภาพการใช้สื่อในการนำเสนอผลงาน
1) มีทักษะในการทำตามแบบและปฏิบัติงานได้ตามข้อแนะนำ
2) มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง
1) บรรยายเรื่องการวาดคน สัตว์ ทัศนียภาพ การออกแบบร่าง และมอบหมายงานปฏิบัติ
2) บรรยายเรื่องสีหน้า ท่าทาง สัตว์ และทิวทัศน์ แล้วสั่งงานวาดตนเองแบบสร้างสรรค์ และสัตว์ในทิวทัศน์
1) ประเมินจากความถูกต้องตามหลักการในการวาด
2) ประเมินจากความถูกต้องตามหลักการในแนวทางของนักศึกษาแต่ละคน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา ด้านคุณธรรมจริยธรรม ด้านความรู้ ด้านทักษะทางปัญญา ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1)ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม 2)มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น 3)มีจิตอาสา จิตสานึกสาธารณะ 1)รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรม และศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง 2)มีความสามารถในการค้นคว้าแก้ปัญหา และพัฒนาทางด้านศิลปกรรมศาสตร์อย่างเป็นระบบ 3)มีความรู้ในทางศิลปะที่สัมพันธ์กับบริบททางสังคม ภูมิปัญญาและวัฒนธรรม 4)มีความคิดสร้างสรรค์และมีปฏิภาณไหวพริบในการสร้างผลงาน 1)สามารถค้นคว้า รวบรวมและประเมินข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายอย่างมีวิจารณญาณ 2)สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์และเสนอแนวทางแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์ 3)สามารถบูรณาการความรู้กับศาสตร์อื่นเพื่อสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการและวิชาชีพได้ 4)มีความคิดสร้างสรรค์และมีปฏิภาณไหวพริบในการสร้างผลงาน 1)มีภาวะผู้นำเข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเอง รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น และมนุษยสัมพันธ์ที่ดี 2)มีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3)สามารถแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล ตรงไปตรงมา และเคารพในความคิดเห็นที่แตกต่าง 1)สามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียนในการสื่อสารโดยทั่วไป ตลอดจนใช้วิธีการสื่อสารทางศิลปกรรม และ นำเสนองานได้อย่างมีประสิทธิภาพารถเลือกใช้วิธีการสื่อสารที่เหมาะสม 2)สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสร้างสรรค์ผลงานหรือการนำเสนอผลงานได้ อย่างมีประสิทธิภาพ 3)มีความสามารถในการประยุกต์ใช้ความรู้เชิงตัวเลข หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสมสำหรับงานศิลปกรรม 1)มีทักษะในการทำตามแบบและปฏิบัติงานได้ตามข้อแนะนำ 2)มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง 3)มีทักษะในการปฏิบัติงานสร้างสรรค์ผลงาน
1 BAACD102 วาดเส้นสำหรับงานออกแบบสื่อสาร
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1(1)ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม การเข้าเรียน มีส่วนร่วมในการเรียนการสอน 1-15 10
2 2(4)มีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานหรือธรรมเนียมปฏิบัติในการวาดเส้นสำหรับงานออกแบบสื่อสาร การสอบทฤษฎี (สอบกลางภาค สอบปลายภาค) 9,17 30
3 3(4)มีความคิดสร้างสรรค์และมีปฏิภาณไหวพริบในการสร้างผลงาน, 6(1)ทักษะในการทำตามแบบและปฏิบัติงานได้ตามข้อแนะนำ, 6(2)มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง ผลงานรายบุคคล (ตัวผลงาน) 3,4,6,11 40
4 4(1)มีภาวะผู้นำเข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเอง รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น และมนุษยสัมพันธ์ที่ดี, 5(2)สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสร้างสรรค์ผลงานหรือการนำเสนอผลงานได้ อย่างมีประสิทธิภาพ ผลงานกลุ่ม (ผลงานปฏิบัติ และการนำเสนอ) 15 20
โกสุม สายใจ. Drawing. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์. 2530.
นงนารถ เมินทุกข์.วาดเขียน. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์. 2534.
ศุภพงศ์ ยืนยง . หลักการวาดภาพ. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์. 2547.
สุชาติ เถาทอง. วาดเส้น. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์. 2536.
อัศนีย์ ชูอรุณ. ศิลปะวิชาการ. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์. 2540.
อัศนีย์ เชยอรุณ. การวาดรูปอย่างง่ายๆ. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์โอ.เอส.พริ้นติ้ง เอ้าส์. 2542.
Classic human anatomy.
Drawing Dynamic.
Entourage: a tracing file for architecture and interior.
Leno Barcsay, Anatomy for Artist Octopus Book. London 152 Pages.
The Big book of realistic.
-
เว็บไซต์เกี่ยวกับการวาดเส้น
เว็บไซต์เกี่ยวกับการการเขียนภาพท่าทางเพื่องานคอมพิวเตอร์ (Character)
เว็บไซต์เกี่ยวกับการการเขียนแผ่นเรื่องราว (Storyboard)
 
1.1 ให้นักศึกษาประเมินอาจารย์ผู้สอนในประเด็นต่อไปนี้
· ความตรงต่อเวลา
· การแต่งกาย บุคลิกภาพ
· คำพูดและวาจาสุภาพ เหมาะสม
· การเป็นแบบอย่างที่ดี สอดแทรกคุณธรรมและจริยธรรมระหว่างการสอน
· ความสามารถในการถ่ายทอดเนื้อหาให้เข้าใจและกระตุ้นการเรียนรู้
· แจ้งและสรุปวัตถุประสงค์การศึกษาหัวข้อที่สอน
· จัดการเรียนการสอนให้เกิดการเรียนรู้ตรงกับที่ระบุไว้ในวัตถุประสงค์การศึกษา
· การเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ซักถาม แสดงความคิดเห็นระหว่างการเรียนการสอน
1.2 ให้นักศึกษาประเมินภาพรวมของรายวิชาในประเด็นต่อไปนี้
· ความรู้ความสามารถโดยรวม และประโยชน์ที่ได้รับจากการเรียนรายวิชานี้
· ความพึงพอใจต่อการเรียนรายวิชานี้
· ข้อเสนอแนะอื่นๆ
2.1 ให้นักศึกษาประเมินอาจารย์ผู้สอนและภาพรวมของรายวิชาตาม ข้อ ๑
3.1 ให้อาจารย์ผู้สอนแต่ละหัวข้อบันทึกเหตุการณ์ระหว่างการสอนที่สมควรนำเสนอให้พิจารณารวมทั้งสิ่งที่ควรปรับปรุงแก้ไขในแต่ละคาบการสอน
3.2 ประชุม / สัมมนาอาจารย์ผู้สอนเพื่อพิจารณาปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนสำหรับปีการศึกษาต่อไปโดยอาศัยข้อมูลดังต่อไปนี้
· ผลการศึกษาของนักศึกษา
· ผลการประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา
· ผลการประเมินการสอน
· บันทึกของกลุ่มอาจารย์ผู้สอน
สาขาวิชาออกแบบสื่อสาร มีกระบวนการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา ดังนี้
· การสุ่มสัมภาษณ์โดยคณะกรรมการทวนสอบระดับหลักสูตร
· การประเมินโดยผู้ทรงคุณวุฒิภายใน/ภายนอก
เมื่อสิ้นสุดทุกปีการศึกษา อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาจะพิจารณาสรุปผลการประเมินการสอน ผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา เพื่อกำหนดประเด็นที่เห็นสมควรจัดให้มีการปรับปรุงในการศึกษาต่อไป ทั้งเนื้อหา ลำดับการสอน วิธีการสอนและการประเมินผล