ออกแบบสถาปัตยกรรม 1
Architectural Design 1
1. อธิบายหลักการออกแบบรูปทรงและที่ว่างสถาปัตยกรรม พื้นที่พักอาศัยขนาดเล็ก ที่เน้นการตอบรับกับสภาพแวดล้อมเขตร้อนชื้น
2. ออกแบบรูปทรงและที่ว่างสถาปัตยกรรม พื้นที่พักอาศัยขนาดเล็ก ที่เน้นการตอบรับกับสภาพแวดล้อมเขตร้อนชื้น
3. วิเคราะห์ผู้ใช้ ที่ตั้ง และข้อกำหนดด้านกฎหมาย
4. เลือกใช้โครงสร้าง วัสดุ และงานระบบอาคารขนาดเล็ก
5. ออกแบบพักอาศัยขนาดเล็ก ที่เน้นการตอบรับกับสภาพแวดล้อมเขตร้อนชื้นอย่างมีสุนทรียภาพ
6. นำเสนอแบบทางสถาปัตยกรรมด้วยเครื่องมือและอุปกรณ์ในการเขียนแบบ
7. นำเสนอผลการศึกษานอกห้องเรียนและศึกษาดูงานนอกสถานที่
2. ออกแบบรูปทรงและที่ว่างสถาปัตยกรรม พื้นที่พักอาศัยขนาดเล็ก ที่เน้นการตอบรับกับสภาพแวดล้อมเขตร้อนชื้น
3. วิเคราะห์ผู้ใช้ ที่ตั้ง และข้อกำหนดด้านกฎหมาย
4. เลือกใช้โครงสร้าง วัสดุ และงานระบบอาคารขนาดเล็ก
5. ออกแบบพักอาศัยขนาดเล็ก ที่เน้นการตอบรับกับสภาพแวดล้อมเขตร้อนชื้นอย่างมีสุนทรียภาพ
6. นำเสนอแบบทางสถาปัตยกรรมด้วยเครื่องมือและอุปกรณ์ในการเขียนแบบ
7. นำเสนอผลการศึกษานอกห้องเรียนและศึกษาดูงานนอกสถานที่
ศึกษาและฝึกปฏิบัติการออกแบบรูปทรงและที่ว่างสถาปัตยกรรม พื้นที่พักอาศัยขนาดเล็ก เน้นการตอบรับกับสภาพแวดล้อมเขตร้อนชื้น วิเคราะห์ผู้ใช้ ที่ตั้ง และข้อกำหนดด้านกฎหมาย โครงสร้างและงานระบบอาคารขนาดเล็ก สุนทรียภาพ การแสดงแบบทางสถาปัตยกรรม การศึกษานอกห้องเรียนและศึกษาดูงานนอกสถานที่
2 ชั่วโมง
1. อธิบายหลักการออกแบบรูปทรงและที่ว่างสถาปัตยกรรม พื้นที่พักอาศัยขนาดเล็ก ที่เน้นการตอบรับกับสภาพแวดล้อมเขตร้อนชื้น
2. อธิบายและระบุโครงสร้าง วัสดุ และงานระบบอาคารขนาดเล็ก
การบรรยาย อภิปราย
การนำเสนอปากเปล่า และการสอบกลางภาค
1. ออกแบบรูปทรงและที่ว่างสถาปัตยกรรม พื้นที่พักอาศัยขนาดเล็ก ที่เน้นการตอบรับกับสภาพแวดล้อมเขตร้อนชื้น
2. วิเคราะห์ผู้ใช้ ที่ตั้ง และข้อกำหนดด้านกฎหมาย
3. เลือกใช้โครงสร้าง วัสดุ และงานระบบอาคารขนาดเล็ก
4. ออกแบบพักอาศัยขนาดเล็ก ที่เน้นการตอบรับกับสภาพแวดล้อมเขตร้อนชื้นอย่างมีสุนทรียภาพ
5. นำเสนอแบบทางสถาปัตยกรรมด้วยเครื่องมือและอุปกรณ์ในการเขียนแบบ
6. นำเสนอผลการศึกษานอกห้องเรียนและศึกษาดูงานนอกสถานที่
การใช้โครงงานเป็นฐาน (Project based)
กรณีศึกษา
ประเมินจากผลงานการออกแบบ
รายงานการศึกษา
ยอมรับในความแตกต่างของบุคคล เคารพในสิทธิและเสรีภาพของการแสดงความคิดเห็น
การอธิบาย ชีแจงวิธีการให้ความคิดเห็นต่องานออกแบบ
การสังเกตพฤติกรรม
1. มีวินัยและความรับผิดชอบพื้นฐาน ขยัน อดทน และตรงต่อเวลา
2 มุ่งมั่นพัฒนาตนเองอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง ใช้ทักษะและความรู้เพื่อการออกแบบสถาปัตยกรรมประเภทบ้านพักอาศัย
3. มีความคิดริเริ่ม พัฒนางานสถาปัตยกรรมด้วยการคิดอย่างเป็นขั้นตอนตามหลักการออกแบบ
2 มุ่งมั่นพัฒนาตนเองอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง ใช้ทักษะและความรู้เพื่อการออกแบบสถาปัตยกรรมประเภทบ้านพักอาศัย
3. มีความคิดริเริ่ม พัฒนางานสถาปัตยกรรมด้วยการคิดอย่างเป็นขั้นตอนตามหลักการออกแบบ
1. การเข้าเรียน การส่งงานตามระยะเวลาที่กำหนด
2. สังเกตพฤติกรรมที่แสดงออกจากการเข้าร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน
3. พฤติกรรมและการแสดงออก ระหว่างการนำเสนอผลงาน
4. พฤติกรรมและการแสดงออกระหว่างการนำเสนอแบบร่างทางสถาปัตยกรรมต่าง ๆ
2. สังเกตพฤติกรรมที่แสดงออกจากการเข้าร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน
3. พฤติกรรมและการแสดงออก ระหว่างการนำเสนอผลงาน
4. พฤติกรรมและการแสดงออกระหว่างการนำเสนอแบบร่างทางสถาปัตยกรรมต่าง ๆ
1. คะแนนจิตพิสัย จำนวนครั้งที่เข้าร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน
2. แบบประเมินการพัฒนาแบบร่าง
2. แบบประเมินการพัฒนาแบบร่าง
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา | 1. ความรู้ | 2. ทักษะ | 3. จริยธรรม | 4. ลักษณะบุคคล | ||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ลำดับ | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | 1.1 อธิบายหลักการและทฤษฎีพื้นฐานที่เกี่ยวข้องกับศาสตร์ทางสถาปัตยกรรม | 1.2 อธิบายหลักการออกแบบทางสถาปัตยกรรม และข้อแตกต่างของวิธีการ เครื่องมือ เทคโนโลยีในการนำเสนอแบบสถาปัตยกรรม | 1.3 อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างสังคม และสิ่งแวดล้อมที่ส่งผลต่อการสร้างสรรค์สถาปัตยกรรม | 1.4 อธิบายหลักการ และกระบวนการคิดเชิงนวัตกรรมในงานออกแบบสถาปัตยกรรม | 1.5 อธิบายหลักการ ข้อบังคับ กฎหมาย จรรยาบรรณทางวิชาชีพและคุณสมบัติของสถาปนิกผู้ประกอบการ | 2.1 ประยุกต์ใช้หลักการ ทฤษฎีพื้นฐานและหลักการปฏิบัติที่เกี่ยวกับงานสถาปัตยกรรม | 2.2 เลือกใช้วิธีการและเครื่องมือในการนำเสนอแบบสถาปัตยกรรม | 2.3 วิเคราะห์และจำลองอาคารโดยใช้เครื่องมือ เทคโนโลยี โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่เกี่ยวกับงานสถาปัตยกรรม | 2.4 สร้างสรรค์สถาปัตยกรรมที่สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสิ่งแวดล้อมด้วยหลักการ กระบวนการคิดเชิงนวัตกรรม | 2.5 ผสมผสานหลักการ ทฤษฎี และทักษะทางสถาปัตยกรรมเข้ากับบริบทการเปลี่ยนแปลงของสังคม และสิ่งแวดล้อมด้วยกระบวนการคิดเชิงนวัตกรรม | 3.1 เลือกใช้กฎหมายและข้อบังคับทางวิชาชีพสถาปัตยกรรม | 3.2 ให้ความร่วมมือในทีมงาน ช่วยเหลือชุมชนและสังคม | 3.3 ยอมรับคุณค่าทางความคิดและทรัพย์สินทางปัญญา | 3.4 ยอมรับในความแตกต่างของบุคคล เคารพในสิทธิและเสรีภาพของการแสดงความคิดเห็น | 4.3 มุ่งมั่นพัฒนาตนเองอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง ใช้ทักษะและความรู้เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ตามเป้าหมาย | 4.4 ริเริ่มพัฒนางานสถาปัตยกรรมด้วยการคิดอย่างมีระบบ | 4.1 ปฏิบัติตามวินัยและความรับผิดชอบพื้นฐาน ขยัน อดทน และตรงต่อเวลา | 4.2 อธิบายและสื่อสารกับผู้อื่นด้วยความรู้และทักษะทางสถาปัตยกรรม |
1 | BARAT101 | ออกแบบสถาปัตยกรรม 1 |
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | ความรู้ 1. อธิบายหลักการออกแบบรูปทรงและที่ว่างสถาปัตยกรรม พื้นที่พักอาศัยขนาดเล็ก ที่เน้นการตอบรับกับสภาพแวดล้อมเขตร้อนชื้น 2. อธิบายและระบุโครงสร้าง วัสดุ และงานระบบอาคารขนาดเล็ก | การสอบกลางภาคและปลายภาค | 9 และ17 | |
2 | ทักษะ 1. ออกแบบรูปทรงและที่ว่างสถาปัตยกรรม พื้นที่พักอาศัยขนาดเล็ก ที่เน้นการตอบรับกับสภาพแวดล้อมเขตร้อนชื้น 2. วิเคราะห์ผู้ใช้ ที่ตั้ง และข้อกำหนดด้านกฎหมาย 3. เลือกใช้โครงสร้าง วัสดุ และงานระบบอาคารขนาดเล็ก 4. ออกแบบพักอาศัยขนาดเล็ก ที่เน้นการตอบรับกับสภาพแวดล้อมเขตร้อนชื้นอย่างมีสุนทรียภาพ 5. นำเสนอแบบทางสถาปัตยกรรมด้วยเครื่องมือและอุปกรณ์ในการเขียนแบบ 6. นำเสนอผลการศึกษานอกห้องเรียนและศึกษาดูงานนอกสถานที่ | ผลงานการออกแบบ | 3,6 และ17 | |
3 | จรรยาบรรณ 1. ยอมรับในความแตกต่างของบุคคล เคารพในสิทธิและเสรีภาพของการแสดงความคิดเห็น | การประเมินพฤติกรรมการนำเสนองานและการรับข้อคิดเห็น | 17 | |
4 | ลักษณะบุคคล 1. มีวินัยและความรับผิดชอบพื้นฐาน ขยัน อดทน และตรงต่อเวลา 2 มุ่งมั่นพัฒนาตนเองอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง ใช้ทักษะและความรู้เพื่อการออกแบบสถาปัตยกรรมประเภทบ้านพักอาศัย 3. มีความคิดริเริ่ม พัฒนางานสถาปัตยกรรมด้วยการคิดอย่างเป็นขั้นตอนตามหลักการออกแบบ | การสังเกตพฤติกรรมและการติดตามความก้าวหน้าของการพัฒนาแบบร่าง | ตลอดภาคการศึกษา |
1.อรศิริ ปาณินท์ 2538 กระบวนการออกแบบทางสถาปัตยกรรม ปทุมธานี:สานักพิมพ์ มหาวิทยาลัยรังสิต
2.อรศิริ ปาณินท์ 2538 มนุษย์กับการสร้างสรรค์สถาปัตยกรรม กรุงเทพฯ:สานักพิมพ์ มหาวิทยาลัยรังสิต
3.อรศิริ ปาณินท์ 2538 ที่ว่างทางสถาปัตยกรรม กรุงเทพฯ:สานักพิมพ์ มหาวิทยาลัยรังสิต
4.ผุสดี ทิพทัส 2540 เกณฑ์การออกแบบทางสถาปัตยกรรม กรุงเทพฯ:สานักพิมพ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
5.บัณฑิต จุลาสัย 2544 จุด เส้น ระนาบ กรุงเทพฯ:สานักพิมพ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
6.เลอสม สถาปิตานนท์ 2544 บ้านและการออกแบบ กรุงเทพฯ:สานักพิมพ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
7. ศักดา ประสานไทย 2549 วัสดุและการออกแบบ กรุงเทพฯ:สานักพิมพ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
8. กิติ สินธุเสก. การออกแบบภายในขั้นพื้นฐาน. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550.
9. วิมลสิทธิ์ หรยางกูร, ศาสตราจารย์. การจัดทารายละเอียดโครงการเพื่อการออกแบบงานสถาปัตยกรรม. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541.
10. เลอสม สถาปิตานนท์, ศาสตราจารย์. มิติสถาปัตยกรรม. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : ลายเส้น, 2554.
2.อรศิริ ปาณินท์ 2538 มนุษย์กับการสร้างสรรค์สถาปัตยกรรม กรุงเทพฯ:สานักพิมพ์ มหาวิทยาลัยรังสิต
3.อรศิริ ปาณินท์ 2538 ที่ว่างทางสถาปัตยกรรม กรุงเทพฯ:สานักพิมพ์ มหาวิทยาลัยรังสิต
4.ผุสดี ทิพทัส 2540 เกณฑ์การออกแบบทางสถาปัตยกรรม กรุงเทพฯ:สานักพิมพ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
5.บัณฑิต จุลาสัย 2544 จุด เส้น ระนาบ กรุงเทพฯ:สานักพิมพ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
6.เลอสม สถาปิตานนท์ 2544 บ้านและการออกแบบ กรุงเทพฯ:สานักพิมพ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
7. ศักดา ประสานไทย 2549 วัสดุและการออกแบบ กรุงเทพฯ:สานักพิมพ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
8. กิติ สินธุเสก. การออกแบบภายในขั้นพื้นฐาน. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550.
9. วิมลสิทธิ์ หรยางกูร, ศาสตราจารย์. การจัดทารายละเอียดโครงการเพื่อการออกแบบงานสถาปัตยกรรม. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541.
10. เลอสม สถาปิตานนท์, ศาสตราจารย์. มิติสถาปัตยกรรม. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : ลายเส้น, 2554.
เว็บไซต์ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เช่น Wikipedia คำอธิบายศัพท์ กฎหมายควบคุมอาคาร กระบวนการออกแบบสถาปัตยกรรม แนวความคิดในการออกแบบบ้านในสภาพภูมิอากาศแบบร้อนชื้น
1.1 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
1.2 ข้อเสนอแนะผ่านช่องทางการสื่อสารที่อาจารย์ผู้สอนและนักศึกษาให้เป็นช่องทางการสื่อสารร่วมกัน
1.2 ข้อเสนอแนะผ่านช่องทางการสื่อสารที่อาจารย์ผู้สอนและนักศึกษาให้เป็นช่องทางการสื่อสารร่วมกัน
2.1 สังเกตการณ์การสอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2 ผลการเรียนและผลงานของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
2.2 ผลการเรียนและผลงานของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
ทีมอาจารย์ผู้สอนร่วมกันวิเคราะห์ผลการประเมินการสอนของอาจารย์และนักศึกษาและปรับปรุงการสอน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ จากการสอบถามนักศึกษา การตรวจแบบร่าง หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย และหลังการประกาศผลคะแนนการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา โดยคณาจารย์ผู้สอนร่วมกันพิจารณา
4.2 ผู้รับผิดชอบหลักสูตรอาจจัดให้มีการตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา ซึ่งอาจใช้การตรวจสอบจากผลงาน ข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา โดยคณาจารย์ผู้สอนร่วมกันพิจารณา
4.2 ผู้รับผิดชอบหลักสูตรอาจจัดให้มีการตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา ซึ่งอาจใช้การตรวจสอบจากผลงาน ข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
5.1 ปรับปรุงรายวิชาโดยใช้ผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ใช้ความรู้ เพื่อการแก้ปัญหาที่มาจากประสบการณ์ปฏิบัติวิชาชีพหรือการวิจัยของอาจารย์
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ใช้ความรู้ เพื่อการแก้ปัญหาที่มาจากประสบการณ์ปฏิบัติวิชาชีพหรือการวิจัยของอาจารย์