การพัฒนาทักษะชีวิตในสังคมสมัยใหม่

Development of Life and Social Skills in Modern Society

1.มีความเข้าใจเกี่ยวกับการเห็นคุณค่าในตนเอง การบริหารจัดการตนเอง สามารถจัดการปัญหาโดยสันติวิธีและทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุขและมีประสิทธิภาพ
2.สามารถนำเอาหลักเกณฑ์ เทคนิควิธีไปประยุกต์ใช้ในการดำรงชีวิตและประกอบสัมมาอาชีพวิถีใหม่ เพื่อพัฒนาพฤติกรรมและลักษณะนิสัยในการทำงานของนักศึกษาให้สามารถเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี
3.มีคุณสมบัติด้านคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพ ตลอดจนมีระเบียบวินัยในชีวิตและสังคมสมัยใหม่
4.มีเจตคติที่เหมาะสมในการดำรงชีวิตสมัยใหม่ของตนเอง
2.1 เพื่อปรับกระบวนการรายวิชาให้สอดคล้องกับคุณสมบัติบัณฑิตนักปฏิบัติอันพึงประสงค์ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
2.2 เพื่อให้มีความทันสมัย สอดคล้องกับสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงของโลกในยุคปัจจุบันทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม
ศึกษาเกี่ยวกับสังคม การพัฒนาด้านสังคม ปรัชญา คุณค่าแห่งความเป็นมนุษย์ หลักธรรมในการดำรงชีวิต การพัฒนาความคิด เจตคติ บทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบต่อตนเองและผู้อื่น การมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางสังคมและวัฒนธรรมไทย การมีจิตสำนึกต่อส่วนรวม การบริหารจัดการและพัฒนาตนเองในโลกสมัยใหม่ ศึกษาวิธีการจัดการภาระอารมณ์และสร้างสัมพันธภาพ การทำงานเป็นทีม การสร้างผลิตผลในการทำงาน และจรรยาบรรณวิชาชีพเพื่อการอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข ตามสถาณการณ์การเปลี่ยนแปลงของสังคมและวัฒนธรรมไทยและสังคมโลก
- อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล รายกลุ่มตามเวลาที่นักศึกษาต้องการ 1 ชั่วโมง  (เฉพาะรายที่ต้องการ)        
-  แจ้งตารางสอนส่วนตัวให้นักศึกษาทราบวัน เวลาว่างของอาจารย์ผู้สอน          
-  แจ้งหมายเลขโทรศัพท์และอีเมลล์ ของอาจารย์ผู้สอน
1.1 มีจิตสานึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1. สอดแทรกและส่งเสริมด้าน คุณธรรม จริยธรรมระหว่างการเรียนการสอน
2. ปลูกฝังให้มีระเบียบวินัย โดยเน้นการเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลา
3. ใช้กิจกรรมในการปลูกฝังความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม
4. บูรณาการด้านการฝึกปฎิบัติในชั้นเรียนเพื่อเพิ่มพูนการเรียนรู้จากการปฏิบัติจริง
1. การแสดงออกและการมีส่วนร่วม
2. การส่งรายงานตรงเวลา
3. ความซื่อสัตย์สุจริตในการทางานที่ได้รับมอบหมายและการสอบ
4. ปฏิบัติได้ถูกต้อง
2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
2.3 สามารถบูรณาการความรู้ทางวิชาชีพกับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
1. กรณีศึกษา
2. บทบาทสมมติ
3. เพื่อนคู่คิด
4. อภิปราย
5. เรียนรู้โดยใช้ทีมเป็นฐาน
1. กรณีศึกษา
2. การนาเสนอผลงาน
3. การแสดงออกและการมีส่วนร่วม
4. การอภิปราย
5. โครงงาน
6. การสอบ
3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ 3.2 มีทักษะในการนาความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
1. กรณีศึกษา
2. การนาเสนอผลงาน
3. การแสดงออกและการมีส่วนร่วม
4. การอภิปราย
5. โครงงาน
1. กรณีศึกษา
2. การนาเสนอผลงาน
3. การแสดงออกและการมีส่วนร่วม
4. การอภิปราย
5. โครงงาน
4.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
4.2 มีภาวะความเป็นผู้นาและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.3 สามารถทางานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
เรียนรู้โดยใช้ทีมเป็นฐาน
1. กรณีศึกษา
2. การนาเสนอผลงาน
3. การแสดงออกและการมีส่วนร่วม
4. การอภิปราย
5. โครงงาน
5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1. ให้นักศึกษาค้นคว้าหาข้อมูลเนื้อหาเพิ่มเติมจาก Website หรือสื่ออื่น ๆ เช่น CD, VCD, วีดิทัศน์ และเทปเสียง
2. การนาเสนอรายงานทุกครั้งให้ใช้ Computer และ Power point และ/หรือ Clip
1. การนาเสนอผลงาน
2. การแสดงออกและการมีส่วนร่วม
3. การสืบค้นอ้างอิงในงาน
1.ความรู้ความเข้าใจจากการลงมือปฏิบัติ
2.สามารถปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง
1. สอนจากการสาธิต /คลิปวีดีโอ
2. ฝึกปฏิบัติ
ความถูกต้องจากการปฏิบัติจนเกิดทักษะ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.3, 3.2 การเข้าชั้นเรียน การส่งรายงานตรงเวลา การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน 1-16 5%
2 2.1, 3.2, 4.1 การมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน ทุกสัปดาห์ 5%
3 2.1, 3.2 การอภิปราย ทุกสัปดาห์ 10%
4 2.1, 3.2 กรณีศึกษา 1, 2, 5, 10-12 10%
5 2.1, 3.2 สอบกลางภาค 8 25%
6 1.3,2.1 สอบปลายภาค 17 25%
7 1.3, 2.1, 3.2, 4.1, 5.1 โครงงาน/กิจกรรมในชั้นเรียน ทุกสัปดาห์ 20%
ทรงสิริ วิชิรานนท์,โรจน์รวี พจน์พัฒนพล,สุทธิพร บุญส่ง,สุวิมล จุลวานิช และอนุรีย์ แก้วแววน้อย. การพัฒนาคุณภาพชีวิตและสังคม. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: ทริปเพิ้ล เอ็ดดูเคชั่น, 2550.
กาญจน์ หงส์ณี. มารยาทและการสมาคม. กรุงเทพฯ: เจริญรุ่งเรืองการพิมพ์, 2549 ประเสริฐ แย้มกลิ่นฟุ้ง และคณะ. สังคมและวัฒนธรรม. กรุงเทพฯ: ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549. วิภาพร มาพบสุข. การพัฒนาคุณภาพชีวิตและสังคม. กรุงเทพฯ: สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขต เทคนิคกรุงเทพฯ, 2540. สุพัตรา สุภาพ. สังคมและวัฒนธรรมไทย ค่านิยม ครอบครัว ศาสนา ประเพณี. พิมพ์ครั้งที่ 11. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช จากัด, 2543. อนุรี แก้วแววน้อย และคณะ. การพัฒนาคุณภาพชีวิตและสังคม. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ:ทริปเพิ้ล เอ็ดดูเคชั่น, 2548. เอกสารเกี่ยวกับจริยศาสตร์, ศาสนาเปรียบเทียบ, จริยธรรมในชีวิต, จริยธรรมกับวิชาชีพ, ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
- วารสารทางวิชาการ - รายการทางสื่อต่างๆ เว็บไซด์ที่เกี่ยวกับการพัฒนาคุณภาพชีวิตและสังคมและเว็บไซด์อื่น ๆ ปัทมา ผาดจันทึก. การพัฒนาคุณภาพชีวิตและสังคม(Online). มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. แหล่งที่มา: http://courseware.rmutl.ac.th/courses/44/unit000.htm
การประเมินผลรายวิชานี้จัดทำโดยนักศึกษา :       
1.1 นักศึกษาเป็นผู้ประเมินผลผู้สอน และรายวิชานี้ทางเว็บไซด์ของมหาวิทยาลัย      
1.2 นักศึกษาเป็นผู้ประเมินความพึงพอใจในรายวิชานี้ในตอนท้ายของการเรียนการสอนปลายภาคเรียน      
1.3 นักศึกษาเป็นผู้ประเมินความพึงพอใจในกิจกรรมต่างๆที่จัดให้        
1.4 นักศึกษาเป็นผู้เสนอแนะกิจกรรมในการเรียนการสอน      
1.5 นักศึกษาเป็นผู้ประเมินความพึงพอใจต่อโครงการ/กิจกรรเสริม
2.1 สังเกตพฤติกรรมความสนใจต่อการเรียนของนักศึกษา  (การซักถาม การร่วมอภิปราย การแสดงความคิดเห็น)
2.2 จากกิจกรรมกลุ่มย่อยในชั้นเรียน   นอกชั้นเรียน  แบบฝึกหัด  งานมอบหมายในชั่วโมง
2.3 จากการสังเกตความสนใจในการเข้าร่วมกิจกรรม   การมีจิตอาสา   ความรับผิดชอบ  ตรงต่อเวลา
3.1  ปรับปรุงเอกสาร ตำราที่ใช้ในการเรียนทุกปีการศึกษาเพื่อแก้ไขเนื้อหาให้มีความทันสมัยอยู่เสมอ
3.2 ให้นักศึกษานำเสนอสิ่งที่ต้องการให้เพิ่มเติมในวิชานี้
3.3 นำผลการประเมินที่ได้จากนักศึกษามาปรับปรุงพัฒนาให้ดีขึ้น
3.4 ทำวิจัยในชั้นเรียนเพื่อช่วยแก้ปัญหาในเรื่องต่างๆที่มีผลกระทบต่อผู้เรียน
4.1 สังเกตการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมทั้งด้านการเรียน การมีวินัย การเข้าเรียนและการส่งงานตรงต่อเวลา ความรับผิดชอบในงานที่มอบหมาย       
4.2 สังเกตการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้านอื่นๆ ตามที่ได้เรียนไป ได้แก่ การแต่งกาย บุคลิกภาพ การปรับตัว,  พฤติกรรมด้านจริยธรรม ฯลฯ
4.3. คะแนนกิจกรรมและงานมอบหมาย
4.4  การปรับปรุงพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม และวิธีการนำเสนอตามที่ได้รับการแนะนำ
5.1 มีการปรับปรุงเนื้อหาอย่างสม่ำเสมอ ให้ข้อมูลเป็นปัจจุบันทันเหตุการณ์
5.2 เชิญผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านมาให้ความรู้ในเรื่องต่างๆตามที่นักศึกษาสนใจ
5.3 ปรับปรุงกิจกรรมต่างๆให้มีข้อบกพร่องน้อยลงและมีประสิทธิภาพมากขึ้น
5.4 พัฒนากิจกรรม/โครงการใหม่ๆที่ให้ประโยชน์แก่นักศึกษามาเป็นทางเลือกให้หลากหลายมากขึ้น
5.5 พัฒนาเทคนิคการสอน   สื่อเทคโนโลยีการศึกษา ให้ทันสมัย น่าสนใจ  และนักศึกษาสามารถเรียนรู้ ได้อย่างรวดเร็ว สามารถนำไปปฏิบัติได้จริงในชีวิตประจำวัน