จิตรกรรมสีน้ำ
Watercolor Painting
1.เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการสร้างสรรค์จิตรกรรมสีน้ำด้วยเทคนิคและวิธีการต่างๆ ทางทัศนศิลป์
2.มีความเข้าใจในการเขียนภาพหุ่นนิ่ง ทิวทัศน์ และภาพคน รวมไปถึงคุณลักษณะเฉพาะของสีน้ำ
3.ตระหนักและเห็นคุณค่าในการสร้างสรรค์ผลงานจิตรกรรมสีน้ำ
ฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับจิตรกรรมสีน้ำ โดยฝึกทักษะพื้นฐานทางเทคนิคในลักษณะต่างๆ ผ่านการเขียนภาพหุ่นนิ่ง ทิวทัศน์ และภาพคน โดยคำนึงถึงสัดส่วน โครงสร้าง รายละเอียดของพื้นผิว ระยะใกล้ ไกลอย่างถูกต้อง และรวมไปถึงการใช้คุณลักษณะเฉพาะของสีน้ำในงานจิตรกรรม
1 ชั่วโมง
ข้อ ๑ ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
ข้อ ๒ มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น
สอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรมในการสอน รวมทั้งจรรยาบรรณทางด้านวิชาการและวิชาชีพ ในรายวิชา สอนให้มีระเบียบวินัย ฝึกให้รู้หน้าที่ในการทำงาน มีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
การตรงเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนด ระยะเวลา ที่มอบหมาย และการเข้าร่วมกิจกรรม
ข้อ ๑ รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรม และศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง
ข้อ ๔ มีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานหรือธรรมเนียมปฏิบัติในการประกอบวิชาชีพ ด้านศิลปกรรมศาสตรในสาขาวิชาที่ศึกษา
ข้อ ๔ มีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานหรือธรรมเนียมปฏิบัติในการประกอบวิชาชีพ ด้านศิลปกรรมศาสตรในสาขาวิชาที่ศึกษา
ใช้การเรียนการสอน โดยเน้นหลักการทางทฤษฎี และการปฏิบัติงาน ทั้งนี้เป็นไปตามลักษณะของรายวิชาจิตรกรรมสีน้ำ ตลอดจนเนื้อหาสาระของรายวิชา
ประเมินจากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและผลการปฏิบัติงานของนักศึกษา
ในด้านต่าง ๆ คือ
๑. การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
๒. ประเมินจากการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
๓. ประเมินจากผลงานที่ปฏิบัติ
ในด้านต่าง ๆ คือ
๑. การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
๒. ประเมินจากการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
๓. ประเมินจากผลงานที่ปฏิบัติ
ข้อ ๑ สามารถค้นคว้า รวบรวมและประเมินข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่ หลากหลายอย่างมีวิจารณญาน
ใช้กรณีศึกษา การมอบหมายงานให้นักศึกษาสืบค้นข้อมูล สังเคราะห์และสรุปข้อมูล การนำเสนองาน โดยอภิปรายเดี่ยว และร่วมแสดงความคิดเห็นของนักศึกษา
ประเมินตามสภาพจริงจากผลงาน การปฏิบัติงานของนักศึกษา และการนำเสนองาน
ข้อ ๑ มีภาวะผู้นำเข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเอง รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น และมนุษยสัมพันธ์ที่ดี
ข้อ ๒ มีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ อย่างมีประสิทธิภาพ
สอดแทรกเรื่องความสำคัญของการมีมนุษยสัมพันธ์ การมีมารยาททางสังคม การเคารพสิทธิและการยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น การประสานงานกับบุคคลภายนอก การแสดงความคิดเห็น และการวิพากษ์วิจารณ์งานของผู้อื่น
ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกในการนำเสนองาน และผลงานในชั้นเรียนและประเมินจากพฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่างๆ
ข้อ ๑ สามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียนในการสื่อสารโดยทั่วไป ตลอดจนใช้วิธีการสื่อสารทางศิลปกรรม และนำเสนองานได้อย่างมี ประสิทธิภาพ
ใช้วิธีการสอนโดยให้นักศึกษานำเสนอผลงานโดยการพูดอธิบายความรู้ความเข้าใจจากการเรียนรู้ รวมไปถึงผลงานในห้องเรียน
- ประเมินตามสภาพจริงของการปฏิบัติงาน โดยประเมินจากผลงาน ความสนใจ ความเข้าใจ การตั้งคำถาม การตอบคำถามและการพูดนำเสนอผลงานต่างๆ ในชั้นเรียน
ข้อ ๑ สามารถใช้ทักษะปฏิบัติทางศิลปกรรมศาสตร์ในการสร้างสรรค์ผลงานของตน
ใช้วิธีการสอน ด้วยวิธีการทำตามแบบตามใบงาน และการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้อง จากลักษณะการร่างภาพเพื่อให้ได้สัดส่วนและโครงสร้างของรูป
ประเมินตามสภาพจริงโดยประเมินจากการปฏิบัติงานและผลงานจิตรกรรมสีน้ำของนักศึกษา
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา | 1.คุณธรรมจริยธรรม | ๒. ความรู้ | ๓. ทักษะทางปัญญา | ๔. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ | ๕. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ | ๖. ด้านทักษะพิสัย | ||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ลำดับ | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | ข้อ ๑ ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม | ข้อ ๒ มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น | ข้อ ๓ มีจิตอาสา จิตสำนึกสาธารณะ | ข้อ ๑ รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรม และศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง | ข้อ ๒ มีความสามารถในการค้นคว้าแก้ปัญหา และพัฒนาทางด้านศิลปกรรม ศาสตร์อย่างเป็นระบบ | ข้อ ๓ มีความรู้ในทางศิลปะที่สัมพันธ์กับบริบททางสังคม ภูมิปัญญาและ วัฒนธรรม | ข้อ ๔ มีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานหรือธรรมเนียมปฏิบัติในการประกอบวิชาชีพ ด้านศิลปกรรมศาสตรในสาขาวิชาที่ศึกษา | ข้อ ๑ สามารถค้นคว้า รวบรวมและประเมินข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่ หลากหลายอย่างมีวิจารณญาน | ข้อ ๒ สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์และเสนอแนวทางแก้ปัญหาได้อย่าง สร้างสรรค์ | ข้อ ๓ สามารถบูรณาการความรู้กับศาสตร์อื่นเพื่อสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการ และวิชาชีพได้ | ข้อ ๔) มีความคิดสร้างสรรค์และมีปฏิภาณไหวพริบในการสร้างผลงาน | ข้อ ๑ มีภาวะผู้นำเข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเอง รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น และมนุษยสัมพันธ์ที่ดี | ข้อ ๒ มีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ อย่างมีประสิทธิภาพ | ข้อ ๓ สามารถแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล ตรงไปตรงมา และเคารพใน ความคิดเห็นที่แตกต่าง | ข้อ ๑ สามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียนในการสื่อสารโดยทั่วไป ตลอดจนใช้วิธีการสื่อสารทางศิลปกรรม และนำเสนองานได้อย่างมี ประสิทธิภาพ | ข้อ ๒ สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการ สร้างสรรค์ผลงานหรือการนำเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ | ข้อ ๓ มีความสามารถในการประยุกต์ใช้ความรู้เชิงตัวเลข หรือเทคโนโลยีที่ เหมาะสมสำหรับงานศิลปกรรม | ข้อ ๑ สามารถใช้ทักษะปฏิบัติทางศิลปกรรมศาสตร์ในการสร้างสรรค์ผลงานของตน |
1 | BFAVA198 | จิตรกรรมสีน้ำ |
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | ด้านคุณธรรมและจริยธรรม | - ประเมินจากการมีวินัยในการเข้าชั้นเรียน ความรับผิดชอบส่งงานตามกำหนด และมีความรับผิดชอบในการทำงานที่ได้รับมอบหมาย | 1-17 | 20% |
2 | ด้านความรู้ | - ประเมินจากการทดสอบทักษะความสามารถและความเข้าใจในแต่ละหน่วยเรียน การสอบกลางภาค การสอบปลายภาคเรียน จากผลงานที่ปฏิบัติ | 1-17 | 30% |
3 | ด้านปัญญา | - ประเมินจากผลงานสร้างสรรค์ในแต่ละหน่วยเรียน | 1-8,10-16 | 5% |
4 | ด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ | - ประเมินจากการเรียนและการส่งงาน | 1-8,10-16 | 10% |
5 | ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ | - ประเมินจากการนำเสนอผลงาน | 2-8,10-16 | 5% |
6 | ด้านทักษะพิสัย | - ประเมินจากผลงานที่สามารถทำตามแบบได้ สามารถสร้างสรรค์ผลงานโดยใช้เทคนิคต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม และสามารถแก้ไขปัญหาในการสร้างสรรค์ได้ | 2-8,10-16 | 30% |
- ผลการเรียนของนักศึกษา
- การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
- การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
- การศึกษากระบวนการเรียนการสอนภายในและนอกชั้นเรียน
- การสัมมนาเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
- การสัมมนาเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
- ทวนสอบจากคะแนนงานที่มอบหมาย จากการสุ่มตัวอย่างผลงานของนักศึกษาจากอาจารย์ต่างหลักสูตร
- ตรวจสอบผลการประเมินและกระบวนการศึกษา
- ตรวจสอบผลการประเมินและกระบวนการศึกษา
ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลสอบทวนมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4