การสัมมนาและศึกษาดูงานแฟชั่น สิ่งทอ และเครื่องประดับ
Seminar and Study Visit in Fashion, Textile, and Jewelry
1. เข้าใจเกี่ยวกับจุดมุ่งหมาย กระบวนการ และเทคนิคการจัดสัมมนาและศึกษาดูงาน
2. ศึกษา ค้นคว้า และนำเสนอเกี่ยวกับปัญหาหรือประเด็นสำคัญที่เกี่ยวข้องกับงานทางด้านแฟชั่น สิ่งทอ และเครื่องประดับ
3. ศึกษาดูงานในสถานประกอบการทางด้านแฟชั่น สิ่งทอ และเครื่องประดับ พร้อมทั้งจัดทำรายงานและการนำเสนอ
2. ศึกษา ค้นคว้า และนำเสนอเกี่ยวกับปัญหาหรือประเด็นสำคัญที่เกี่ยวข้องกับงานทางด้านแฟชั่น สิ่งทอ และเครื่องประดับ
3. ศึกษาดูงานในสถานประกอบการทางด้านแฟชั่น สิ่งทอ และเครื่องประดับ พร้อมทั้งจัดทำรายงานและการนำเสนอ
ไม่มี
ศึกษาและฝึกปฎิบัติเกี่ยวกับจุดมุ่งหมายของการสัมมนาและศึกษาดูงาน กระบวนการ และเทคนิคการจัดสัมมนาและศึกษาดูงาน สัมมนาปัญหาที่สำคัญที่มีผลกระทบต่องานแฟชั่น สิ่งทอ และเครื่องประดับ ตลอดจนการจัดสัมมนาและศึกษาดูงานในสถานประกอบการ และจัดทำรายงานนำเสนอเกี่ยวกับสุถานประกอบการทางด้านแฟชั่น สิ่งทอ และเครื่องประดับ
Study and practice objectives of seminars and technical visits; process and techniques of organizing seminars; seminars on critical issues affecting fashion, textile, and jewelry design; holding a seminar and technical visits in the workplace; report writing on visiting fashion, textile, and jewelry enterprise.
Study and practice objectives of seminars and technical visits; process and techniques of organizing seminars; seminars on critical issues affecting fashion, textile, and jewelry design; holding a seminar and technical visits in the workplace; report writing on visiting fashion, textile, and jewelry enterprise.
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่มตามความต้องการ
1.1.1 ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดขอบต่อตนเองและสังคม
1.1.2 มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น
1.1.2 มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น
สอดแทรกเรื่องคุณธรรมจริยธรรมในการสอน รวมทั้งส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม ความรู้ จรรยายรรณทางวิชาการและวิชาชีพในรายวิชา สอนให้มีระเบียบวินัย ฝึกให้รู้หน้าที่ในการทำงาน มีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
ประเมินจากการสังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในชั้นเรียน
2.1.2 มีความสามารถในการค้นคว้า แก้ปัญหา และพัฒนาทางด้านศิลปกรรมศาสตร์อย่างเป็นระบบ
2.1.4 มีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานหรือธรรมเนียมปฏิบัติในการประกอบวิชาชีพด้านศิลปกรรมศาสตร์ในสาขาวิชาที่ศึกษา
2.1.4 มีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานหรือธรรมเนียมปฏิบัติในการประกอบวิชาชีพด้านศิลปกรรมศาสตร์ในสาขาวิชาที่ศึกษา
1. บรรยายความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับกระบวนการและเทคนิคการจัดสัมมนา
2. ศึกษาดูงานในสถานประกอบการทางด้านแฟชั่น สิ่งทอ และเครื่องประดับ
2. ศึกษาดูงานในสถานประกอบการทางด้านแฟชั่น สิ่งทอ และเครื่องประดับ
1. การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
2. การนำเสนอในชั้นเรียน
3. รายงานการศึกษาดูงาน
2. การนำเสนอในชั้นเรียน
3. รายงานการศึกษาดูงาน
3.1.1 สามารถค้นคว้า รวบรวม และประเมินข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายอย่างมีวิจารณญาณ
3.1.2 สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์และเสนอแนวทางแก้ไขปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์
3.1.2 สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์และเสนอแนวทางแก้ไขปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์
มอบหมายงานให้นักศึกษาสืบค้นข้อมูล วิเคราะห์ สังเคราะห์ และสรุปข้อมูล หัวข้อ (Topic) ที่น่าสนใจเกี่ยวกับวิชาชีพทางด้านแฟชั่น สิ่งทอ และเครื่องประดับ และนำเสนอโดยอภิปรายกลุ่มและร่วมกันแสดงความคิดเห็น
ประเมินจากผลงาน การปฏิบัติงาน และการนำเสนองานของนักศึกษา
4.1.1 มีภาวะผู้นำ เข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเอง รับฟังความคิดเห็นข้องผู้อื่น และมนุษยสัมพันธ์ที่ดี
4.1.2 มีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง สามารุทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.1.2 มีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง สามารุทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1.บรรยายสอดแทรกเรื่องความสำคัญของการมีมนุษยสัมพันธ์ การยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น การแสดงความคิดเห็น การวิพากษ์วิจารณ์งาน
2.การมอบหมายงานให้นักศึกษาสืบค้นข้อมูล วิเคราะห์ สังเคราะห์ และสรุปข้อมูล หัวข้อ (Topic) ที่น่าสนใจเกี่ยวกับวิชาชีพทางด้านแฟชั่น สิ่งทอ และเครื่องประดับ และนำเสนอโดยอภิปรายกลุ่มและร่วมกันแสดงความคิดเห็น ให้มีการหมุนเวียนการทำหน้าที่ผู้นำและผู้ตาม
3. การศึกษาดูงานในสถานประกอบการ มอบหมายให้นักศึกษาได้มีการประสานงานกับบุคคลภายนอก
2.การมอบหมายงานให้นักศึกษาสืบค้นข้อมูล วิเคราะห์ สังเคราะห์ และสรุปข้อมูล หัวข้อ (Topic) ที่น่าสนใจเกี่ยวกับวิชาชีพทางด้านแฟชั่น สิ่งทอ และเครื่องประดับ และนำเสนอโดยอภิปรายกลุ่มและร่วมกันแสดงความคิดเห็น ให้มีการหมุนเวียนการทำหน้าที่ผู้นำและผู้ตาม
3. การศึกษาดูงานในสถานประกอบการ มอบหมายให้นักศึกษาได้มีการประสานงานกับบุคคลภายนอก
ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกในการนำเสนอรายงานและผลงานกลุ่มในชั้นเรียน และประเมินจากพฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมการศึกษาดูงาน
5.1.1 สามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียนในการสื่อสารโดยทั่วไป ตลอดจนใช่วิธีการสื่อสารทางศิลปกรรมและนำเสนองานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.1.2 สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสร้างสรรค์ผลงานหรือการนำเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.1.2 สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสร้างสรรค์ผลงานหรือการนำเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1. การมอบหมายงานให้นักศึกษาสืบค้นข้อมูล วิเคราะห์ สังเคราะห์ และสรุปข้อมูล หัวข้อ (Topic) ที่น่าสนใจเกี่ยวกับวิชาชีพทางด้านแฟชั่น สิ่งทอ และเครื่องประดับ และนำเสนอโดยอภิปรายกลุ่มและร่วมกันแสดงความคิดเห็น โดยให้มีการเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นและนำเสนออย่างเหมาะสม
2. การมอบหมายให้นักศึกษาจัดทำรายงานประกอบการศึกษาดูงานและนำเสนอ โดยสื่อสารด้วยการพูดฟัง อ่าน เขียน
2. การมอบหมายให้นักศึกษาจัดทำรายงานประกอบการศึกษาดูงานและนำเสนอ โดยสื่อสารด้วยการพูดฟัง อ่าน เขียน
ประเมินจากความถูกต้องและความเหมาะสมในการเลือกใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศ การพูด การนำเสนอ
6.1.1 สามารถใช้ทักษะปฏิบัติทางศิลปกรรมศาสตร์ในการสร้างสรรค์ผลงานของตน
1. การใช้กรณีศึกษา
2. การศึกษาดูงาน
2. การศึกษาดูงาน
ประเมินผลจากการปฏิบัติงาน รายงาน และการนำเสนอ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา | 1. คุณธรรมจริยธรรม | 2. ด้านความรู้ | 3. ด้านทักษะทางปัญญา | 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ | 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ | 6. ทักษะพิสัย | ||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ลำดับ | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | 1 | 2 | 3 | 1 | 2 | 3 | 4 | 1 | 2 | 3 | 4 | 2 | 3 | 1 | 1 | 2 | 3 | 1 |
1 | BAATJ165 | การสัมมนาและศึกษาดูงานแฟชั่น สิ่งทอ และเครื่องประดับ |
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | 1.1.1 และ 1.1.2 | การสังเกตพฤติกรรมของนักศึกษา | 1-8 และ 10-15 | ร้อยละ 10 |
2 | 2.2.2, 2.1.4 , | 1. การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน | 9 และ 17 | ร้อยละ 30 |
3 | 3.1.1, 3.1.2, 4.1.1, 4.1.2, 5.1.1, 5.1.2, 6.1.1 | 1. ประเมินจากรายงานที่มอบหมาย 2. การนำเสนอ 3. การมีส่วนร่วมกิจกรรมในรายวิชา ทั้งการจัดสัมมนาและการศึกษาดูงาน | 1-8 และ 10-15 | ร้อยละ 60 |
พล ยาวิชัย. (2553). สัมมนา (Seminar). กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์.
เกษกานดา สุภาพจน์. ((2547). การจัดสัมมนา. กรุงเทพมหานคร : ศูนย์ส่งเสริมวิชาการ.
เกษกานดา สุภาพจน์. ((2547). การจัดสัมมนา. กรุงเทพมหานคร : ศูนย์ส่งเสริมวิชาการ.
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็น จากนักศึกษาได้ดังนี้
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชาตามข้อกำหนดของมหาวิทยาลัย
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชาตามข้อกำหนดของมหาวิทยาลัย
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 การสังเกตพฤติกรรมการเรียนของนักศึกษา
2.2 การอภิปรายของผู้เรียนต่อเนื้อหาที่เรียน
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการหาข้อมูลเพิ่มเติมในการ ปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1 ทบทวนเนื้อหาและวิธีการสอนให้สอดคล้องกับเกณฑ์ที่กำหนด
3.2 หาแนวทางและวิธีการสอนที่เหมาะสมกับสภาวะปัจจุบัน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจาก การเรียนรู้ในวิชา โดยมีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์รวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบผลการให้คะแนนนักศึกษาตามเกณฑ์ของมหาวิทยาลัย
4.2 การประเมินผลสัมฤทธิ์ตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ 5 ด้าน
จากผลการประเมินและทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุง การสอน และรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้นดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุกปีตามผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 การประชุมกรรมการประจำหลักสูตรเพื่อพิจารณาปรับปรุงประสิทธิผลรายวิชา