เขียนแบบเบื้องต้น

Introduction to Drafting

ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับประวัติความเป็นมาของการเขียนแบบ หลักการใช้ เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ์ที่ใช้ในการเขียนแบบเบื้องต้น การใช้เส้นสัญลักษณ์ ต่าง ๆ ในการเขียนแบบ การกําหนดขนาดและมาตราส่วน การเขียนภาพฉาย ภาพสามมิติ และทัศนียภาพ ประยุกต์ใช้การเขียนแบบในงานออกแบบต่าง ๆ
1. ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับประวัติความเป็นมาของการเขียนแบบ หลักการใช้ เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ์ที่ใช้ในการเขียนแบบเบื้องต้น
2. ศึกษาและฝึกปฏิบัติการใช้เส้นสัญลักษณ์ ต่าง ๆ ในการเขียนแบบ
3. ศึกษาและฝึกปฏิบัติการกําหนดขนาดและมาตราส่วน การเขียนภาพฉาย
4. ศึกษาและฝึกปฏิบัติการเขียนภาพสามมิติ และทัศนียภาพ
5. ศึกษาและฝึกปฏิบัติการประยุกต์ใช้การเขียนแบบในงานออกแบบต่าง ๆ
        ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับประวัติความเป็นมาของการเขียนแบบ หลักการใช้ เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ์ที่ใช้ในการเขียนแบบเบื้องต้น การใช้เส้นสัญลักษณ์ ต่าง ๆ ในการเขียนแบบ การกําหนดขนาดและมาตราส่วน การเขียนภาพฉาย ภาพสามมิติ และทัศนียภาพ ประยุกต์ใช้การเขียนแบบในงานออกแบบต่าง ๆ
- อาจารย์ประจำรายวิชา ประกาศเวลาให้คำปรึกษาภายในชั้นเรียนและในแบบออนไลน์
- อาจารย์ประจำรายวิชา จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่ม on-site หลังเลิกเรียนปกติของผู้เรียน
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ โดยมีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร ดังนี้
1.1.1 ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
1.1.2 มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น
1.1.3 มีจิตอาสา จิตสำนึกสาธารณะ
1.2.1 บรรยายพร้อมยกตัวอย่างเกี่ยวกับประเด็นทางคุณธรรม และ จริยธรรม
1.3.1 พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายและตรงต่อเวลา
1.3.2 ร่วมแสดงความคิดเห็นในการนำเสนองานของเพื่อนร่วมชั้นเรียน และการสอนในรายวิชา
2.1.1 รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรม และศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง
2.1.2 มีความสามารถในการค้นคว้าแก้ปัญหา และพัฒนาทางด้านศิลปกรรม ศาสตร์อย่างเป็นระบบ
2.1.3 มีความรู้ในทางศิลปะที่สัมพันธ์กับบริบททางสังคม ภูมิปัญญาและวัฒนธรรม
2.1.4 มีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานหรือธรรมเนียมปฏิบัติในการประกอบวิชาชีพด้าน
 ศิลปกรรมศาสตร์ในสาขาวิชาที่ศึกษา
2.2.1 บรรยาย ยกตัวอย่าง และปฏิบัติงาน ให้มีการค้นคว้า ศึกษาเพิ่มเติมนอกเวลา โดยค้นคว้าจากสื่อออนไลน์
2.3.1 สอบกลางภาค สอบปลายภาค
2.3.2 ประเมินจากผลการปฏิบัติงาน
 
3.1.1 สามารถค้นคว้า รวบรวมและประเมินข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายอย่างมีวิจารณญาณ
3.1.2 สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์และเสนอแนวทางแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์
3.1.3 สามารถบูรณาการความรู้กับศาสตร์อื่นเพื่อสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการและวิชาชีพได้
3.1.4. มีความคิดสร้างสรรค์และมีปฏิภาณไหวพริบในการสร้างผลงาน
3.2.1 บรรยาย และการให้นักศึกษาปฏิบัติโครงงานที่ให้วิเคราะห์และแก้ไขปัญหา
3.2.2 การสะท้อนแนวคิดจากการประพฤติผ่านระบบการเรียนการสอนในชั่วโมงเรียน
3.3.1 สอบกลางภาค ปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์เนื้อหาข้อมูล และผลิตภัณฑ์ในการเขียนแบบ
3.3.2 วัดผลจากการประเมินชิ้นงาน
3.3.3 สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
4.1.1 มีภาวะผู้นำเข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเอง รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นและ มนุษย์สัมพันธ์ที่ดี
4.1.2 มีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น
อย่างมีประสิทธิภาพ
4.1.3 สามารถแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล ตรงไปตรงมา และเคารพใน
ความคิดเห็นที่แตกต่าง
4.2.1 บรรยาย-ถามตอบ ปลูกฝังการเคารพสิทธิและการยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น การแสดงความคิดเห็น และยอมรับการวิพากษ์วิจารณ์งานของผู้อื่น
4.2.2 มอบหมายงานในห้องเรียน
4.3.1 ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกในการถาม-ตอบ
4.3.2 ประเมินจากงานที่มอบหมาย และความตรงต่อเวลาในการส่งงาน
5.1.1 สามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียนในการสื่อสารโดยทั่วไป ตลอดจนใช้วิธีการสื่อสารทางศิลปกรรม และนำเสนองานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.1.2 สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสร้างสรรค์ผลงานหรือการนำ เสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.1.3 มีความสามารถในการประยุกต์ใช้ความรู้เชิงตัวเลข หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสมสำหรับงานศิลปกรรม
5.2.1 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์ โดยเน้นการนำตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
5.2.2 มอบหมายงานภาคปฏิบัติ ทดลองเขียนให้ดูเป็นตัวอย่าง
5.3.1 ประเมินจากผลการสอบภาคทฤษฎี
5.3.2 ประเมินจากผลงานภาคปฏิบัติงาน
5.3.3 ประเมินผลของพฤติกรรม,บุคลิกภาพและความตั้งใจ,การเข้าร่วมกิจกรรมเสริมต่างๆ
6.1.1 มีทักษะในการทำตามแบบและปฏิบัติงานได้ตามข้อแนะนำ
6.1.2 มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง
6.1.3 มีทักษะในการปฏิบัติงานสร้างสรรค์ผลงาน
6.2.1 บรรยาย มอบหมายงานรายบุคคล ฝึกปฏิบัติ
6.3.1 ประเมินจากการเข้าเรียนและการมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน
6.3.2 ประเมินจากกระบวนการทำงานตามขั้นตอนของการเขียนแบบ
6.3.3 ประเมินจากการส่งงานตามเวลาที่กำหนด
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1.1 ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม 1.1.2 มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น 1.1.3 มีจิตอาสา จิตสำนึกสาธารณะ 2.1.1 รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรม และศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง 2.1.2 มีความสามารถในการค้นคว้าแก้ปัญหา และพัฒนาทางด้านศิลปกรรม ศาสตร์อย่างเป็นระบบ 2.1.3 มีความรู้ในทางศิลปะที่สัมพันธ์กับบริบททางสังคม ภูมิปัญญาและวัฒนธรรม 2.1.4 มีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานหรือธรรมเนียมปฏิบัติในการประกอบวิชาชีพด้าน 3.1.1 สามารถค้นคว้า รวบรวมและประเมินข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายอย่างมีวิจารณญาณ 3.1.2 สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์และเสนอแนวทางแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์ 3.1.3 สามารถบูรณาการความรู้กับศาสตร์อื่นเพื่อสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการและวิชาชีพได้ 3.1.4. มีความคิดสร้างสรรค์และมีปฏิภาณไหวพริบในการสร้างผลงาน 4.1.1 มีภาวะผู้นำเข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเอง รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นและ มนุษย์สัมพันธ์ที่ดี 4.1.2 มีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น อย่างมีประสิทธิภาพ 4.1.3 สามารถแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล ตรงไปตรงมา และเคารพใน ความคิดเห็นที่แตกต่าง 5.1.1 สามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียนในการสื่อสารโดยทั่วไป ตลอดจนใช้วิธีการสื่อสารทางศิลปกรรม และนำเสนองานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 5.1.2 สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสร้างสรรค์ผลงานหรือการนำ เสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 5.1.3 มีความสามารถในการประยุกต์ใช้ความรู้เชิงตัวเลข หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสมสำหรับงานศิลปกรรม 6.1.1 มีทักษะในการทำตามแบบและปฏิบัติงานได้ตามข้อแนะนำ 6.1.2 มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง 6.1.3 มีทักษะในการปฏิบัติงานสร้างสรรค์ผลงาน
1 BAACC407 เขียนแบบเบื้องต้น
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.3.1 สอบกลางภาค 9 15%
2 3.3.1 สอบปลายภาค 18 15%
3 2.3.3, 3.3.2 , 3.3.3 , 4.3.1 , 4.3.2 , 5.3.1 , 5.3.2 , 6.3.2 , 6.3.3 ประเมิณจากการปฏิบัติงาน ตลอดภาคการศึกษา 60%
4 1.3.1 การเข้าเรียนและการส่งงานตามเวลาที่กำหนด การแต่งกาย การส่งงานตามเวลาที่กำหนด ตลอดภาคการศึกษา 10%
1. กฤษฎา อินทรสถิตย์. การเขียนแบบสถาปัตยกรรมภายใน. กรุงเทพฯ : เอ็ม เอ เอช พริ้นติ้ง, 2546.
2. ดอกธูป พุทธมงคล, ชนิด สุมังคะโยธิน, สมชาย เกตพันธุ์ และวรินทร์ รอดโพธิ์ทอง. เขียนแบบเทคนิค 1,2. ม.ป.ท. :วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี, 2529.
3. ธวัช ชัยวิศิษฐ์. เขียนแบบเครื่องกล. พิมพ์ครั้งที่ 2. ม.ป.ท. , 2539.
4. ประเวช มณีกุต. เขียนแบบเทคนิคเบื้องต้น. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์จิตรวัฒน์, 2541.
5. อำนวย อุดมศรี. เขียนแบบทั่วไป. กรุงเทพฯ : สยามสปอร์ต ซินดิเคท, 2537
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาไว้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน

แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1 แสดงความคิดเห็นใน google form เพื่อการเรียนการสอน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์