การใช้งานโปรแกรมสำเร็จรูป
Software Packages
เพื่อให้นักศึกษาศึกษาเกี่ยวกับคำสั่ง และวิธีการใช้โปรแกรมปฏิบัติการต่าง ๆ ของระบบคอมพิวเตอร์ในปัจจุบัน ประโยชน์และการนำไปใช้งานของโปรแกรมสำเร็จรูป แต่ละชนิด การนำโปรแกรมสำเร็จรูปมาใช้กับงานด้านธุรกิจต่าง ๆ ปฏิบัติการใช้โปรแกรมสำเร็จรูปที่เหมาะสมในปัจจุบัน และประยุกต์ใช้งานโปรแกรมสำเร็จรูปบนอินเทอร์เน็ต
เพื่อปรับปรุงเนื้อหาให้ทันสมัย และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตปัจจุบันได้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด
ศึกษาเกี่ยวกับคำสั่ง และวิธีการใช้โปรแกรมปฏิบัติการต่าง ๆ ของระบบคอมพิวเตอร์ในปัจจุบัน ประโยชน์และการนำไปใช้งานของโปรแกรมสำเร็จรูป แต่ละชนิด การนำโปรแกรมสำเร็จรูปมาใช้กับงานด้านธุรกิจต่าง ๆ ปฏิบัติการใช้โปรแกรมสำเร็จรูปที่เหมาะสมในปัจจุบัน และประยุกต์ใช้งานโปรแกรมสำเร็จรูปบนอินเทอร์เน็ต
Study of commands and syntax of various operating system of present-day computer systems, advantages and applications of software packages in various businesses. Practice by selecting appropriate software package and applying it on the Internet.
1
1.1 คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา
1.1 ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต 1.2 มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม 1.7 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
1.1 ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต 1.2 มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม 1.7 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
1. กำหนดให้นักศึกษามีความซื่อสัตย์โดยต้องไม่กระทำการทุจริตในการสอบหรือลอกการบ้านของผู้อื่น
2. กำหนดให้มีวัฒนธรรมองค์กร เพื่อเป็นการปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย โดยเน้นการเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลาตลอดจนการแต่งกายที่เป็นไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัย นักศึกษาต้องมีความรับผิดชอบโดยในการทำงานกลุ่มนั้นต้องฝึกให้รู้หน้าที่ของการเป็นผู้นำกลุ่มและการเป็นสมาชิกกลุ่ม
3. กำหนดให้นักศึกษามีความซื่อสัตย์โดยต้องไม่กระทำการทุจริตในการสอบหรือลอกการบ้านของผู้อื่น
1. ประเมินจากปริมาณการกระทำทุจริตในการสอบ
2. ประเมินจากการตรงเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมาย และการร่วมกิจกรรม
3. สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ อย่างต่อเนื่อง
2.1 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ
2.2 สามารถวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจและอธิบายความต้องการทางคอมพิวเตอร์รวมทั้งประยุกต์ทักษะ และการใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ปัญหา
2.5 รู้เข้าใจและสนใจพัฒนาความรู้ความ ชํานาญทางคอมพิวเตอร์อย่างต่อเนื่อง
1. ใช้การเรียนการสอนในหลากหลายรูปแบบ โดยเน้นหลักการทางทฤษฎี และการวิเคราะห์กรณีศึกษา
2. ใช้การเรียนการสอนในหลากหลายรูปแบบ โดยเน้นหลักการทางทฤษฎี
3. จัดกระบวนการเรียนการสอนที่ฝึก กระบวนการคิด วิเคราะห์และวิพากษ์ทั้ง ในระดับบุคคลและกลุ่ม
1. การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
2. การทำรายงานกลุ่มหรือเดี่ยว
3.1 คิดอย่างมีวิจารณญาณและอย่างเป็นระบบ 3.4 สามารถประยุกต์ความรู้และทักษะกับการแก้ไขปัญหาทางคอมพิวเตอร์ได้อย่างเหมาะสม
1. ให้นักศึกษาค้นคว้าข้อมูลเพิ่มเติม และนำมาอภิปรายกลุ่ม 2. ให้นักศึกษามีโอกาสปฏิบัติจริง
1. ประเมินจากการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน 2. ประเมินตามสภาพจริงจากผลงานของนักศึกษา
4.4 มีความรับผิดชอบในการกระทำของตนเองและรับผิดชอบในงานกลุ่ม
1. กำหนดให้มีการทำงานกลุ่ม
1. ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษา
5.1 มีทักษะในการใช้เครื่องมือที่จำเป็นที่มีอยู่ในปัจจุบันต่อการทำงานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ 5.4 สามารถใช้สารสนเทศและเทคโนโลยีสื่อสารอย่างเหมาะสม
1.มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง และทำรายงานโดยอ้างอิงข้อมูลจากแหล่งที่มาที่น่าเชื่อถือ 2. มอบหมายงานค้นคว้าองค์ความรู้จากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ และให้นักศึกษานําเสนอหน้าชั้น
1. การจัดทำรายงาน และการนำเสนอ
2. ประเมินจากการนําเสนอผลงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา | 1. ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา (Ethics and Moral) | 2. ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ(Knowledge) | 3. ด้านทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา (Cognitive Skills) | 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา (Interpersonal Skills and Responsibility) | 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา (Numerical Analysis, Communication and Information Technology Skills) | ||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ลำดับ | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | 1.1.1 ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต | 1.1.2 มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพและสังคม | 1.1.7 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ | 2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ | 2.1.2 สามารถวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจและอธิบายความต้องการทางคอมพิวเตอร์รวมทั้งประยุกต์ทักษะ และการใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ปัญหา | 2.1.5 รู้ เข้าใจและสนใจพัฒนาความรู้ ความชำนาญทางคอมพิวเตอร์อย่างเนื่อง | 3.1.1 คิดอย่างมีวิจารณญาณและอย่างเป็นระบบ | 3.1.4 สามารถประยุกต์ความรู้และทักษะกับการแก้ไขปัญหาทางคอมพิวเตอร์ได้อย่างเหมาะสม | 4.1.4 มีความรับผิดชอบในการกระทำของตนเองและรับผิดชอบในงานกลุ่ม | 5.1.1 มีทักษะในการใช้เครื่องมือที่จำเป็นที่มีอยู่ในปัจจุบันต่อการทำงานที่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์ | 5.1.4 สามารถใช้สารสนเทศและเทคโนโลยีสื่อหรืออย่างเหมาะสม |
1 | BSCCT102 | การใช้งานโปรแกรมสำเร็จรูป |
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | 1.3 | การเข้าชั้นเรียน การส่งตรงเวลา | ทุกสัปดาห์ | 5% |
2 | 1.3, 4.1, 4.4 | การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน การแสดงความคิดเห็น ประเมินจากพฤติกรรมขณะทำกิจกรรมในชั้นเรียน | ทุกสัปดาห์ | 5% |
3 | 2.1, 2.2 | การสอบกลางภาค | 8 | 20% |
4 | 3.1, 3.2, 4.1, 4.4, 5.1, 5.2, 5.3 | งานที่ได้รับมอบหมาย ใบงานและสอบย่อย | ตลอดภาคการศึกษา | 40% |
5 | 2.1, 2.2 | การสอบปลายภาค | 17 | 30% |
สมหญิง ไทยนิมิต. (2553). การประมวลผลภาพดิจิทัลเบื้องต้นด้วย MATLAB. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า.
สนั่น ศรีสุข. (ม.ป.ป). การประมวลผลภาพขั้นสูง : ฉบับปรับปรุง ครั้งที่ 1. มหาวิทยาลัยนครพนม. คณะวิศวกรรมศาสตร์
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน การสะท้อนคิด จากพฤติกรรมของผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ผลการสอบ การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้ การสังเกตความสนใจของนักเรียน การซักถามในห้องเรียน ผลการตรวจแบบฝึกหัด การบ้านและรายงาน
มีการค้นคว้าเพิ่มเติมจากแหล่งข้อมูลใหม่ๆ ที่ทันสมัย เช่น จากหนังสือที่แนะนำและเอกสารอ้างอิง ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ เว็บไซต์และอื่นๆ
- ในระหว่างกระบวนการเรียนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาดังนี้
- การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ
- มีการตั้งกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนน และการให้คะแนนพฤติกรรม
ปรับปรุงรายวิชาทุกปี ตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4