การจัดการธุรกิจอาหารขนาดย่อม

SME’s Food Business Management

1.1 สามารถระบุความหมายของของวิสาหกิจขนาดย่อม และแยกประเภทของธุรกิจอาหารได้
1.2 สามารถอธิบายการจัดการวัตถุดิบ และการจัดการกระบวนการผลิตของธุรกิจอาหารขนาดย่อมได้
1.3 สามารถพิจารณาเลือกการควบคุมคุณภาพ และวิธีการเก็บรักษาผลิตภัณฑ์อาหารได้
1.4 สามารถอธิบายและประยุกต์ใช้หลักการจัดการทรัพยากรมนุษย์ การเงินการบัญชีและการตลาดของธุรกิจอาหารขนาดย่อมได้
1.5 สามารถวิเคราะห์และเขียนแผนธุรกิจของธุรกิจอาหารขนาดย่อมได้
1.6 สามารถอธิบายการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทานของธุรกิจอาหารขนาดย่อมได้
เป็นรายวิชาใหม่ที่จัดทำขึ้นในภาคการศึกษานี้เป็นภาคการศึกษาแรก จากการสำรวจความต้องการเรียนของนักศึกษาที่วางแผนจะเป็นผู้ประกอบการด้านอาหารในอนาคต
ศึกษาคำจำกัดความและลักษณะของวิสาหกิจขนาดย่อม ประเภทของธุรกิจอาหาร การจัดการทรัพยากร องค์การการเงิน การบัญชี และการตลาด การวิเคราะห์และการเขียนแผนธุรกิจอาหารขนาดย่อม การจัดการวัตถุดิบ กระบวนการผลิต การควบคุมคุณภาพ และการเก็บรักษาผลิตภัณฑ์ การจัดการโลจิสติกส์ และ โซ่อุปทานในธุรกิจอาหารขนาดย่อม
Study and practice on digital marketing, market analysis, consumer behavior, strategic planning, trading plan, product selling and distribution channels, pricing and promotion, including trends of technology usage in marketing of food business
1 ชั่วโมง
1.1  มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ
1.3 มีวินัยและความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
1.4 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม
1. การสอนแบบบรรยาย ใช้สื่อโปรแกรมคอมพิวเตอร์
2. ยกตัวอย่างกรณีศึกษาที่จากเนื้อหาที่มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ และกรณีศึกษาที่ขาดจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ
3. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมวิเคราะห์การวินัยและความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคมในเนื้อหา
4. เข้าร่วมกิจกรรมที่ส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมทั้งใน/นอกมหาวิทยาลัยจัด
1. ประเมินจากการตรงเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมายและการร่วมกิจกรรม
2. พฤติกรรมระหว่างการทำงานกลุ่ม การนำเสนอและอภิปราย โดยผู้สอนอาจซักถามประเด็นด้านจริยธรรม
2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2.3 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการ รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ปัญหาและต่อยอดองค์ความรู้ และมีความรู้ในแนวกว้างของสาขาวิชาที่ศึกษาเพื่อให้เล็งเห็นการเปลี่ยนแปลง และเข้าใจผลกระทบของเทคโนโลยีใหม่ๆ
1. การสอนแบบบรรยายเชิงอภิปราย ใช้ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ และสื่อต่าง ๆ
2. การสอนแบบปฏิบัติการจัดทำงานมอบหมายของวิสาหกิจขนาดย่อมกรณีศึกษา
3. การแนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูลความก้าว หน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
4. การมอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
5. การนำเสนองานด้วยวิธีโปสเตอร์ และวาจา
1. การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
2. ประเมินจากรายงานที่นักศึกษาจัดทำ
3. ประเมินจากการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
3.1 มีความสามารถในการค้นหาข้อเท็จจริง ทำความเข้าใจและประเมินข้อมูลสารสนเทศ แนวคิดและหลักฐานใหม่ๆ จากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย และใช้ข้อสรุปที่ได้ในการแก้ไขปัญหา หรืองานอื่นๆ โดยไม่ต้องอาศัยคำแนะนำ
3.2 สามารถคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ ในการวิเคราะห์ปัญหาที่ซับซ้อน และเสนอแนวทางแก้ไขได้อย่างสร้างสรรค์
1. ลงพื้นที่ทำงานร่วมกับวิสาหกิจขนาดย่อมจริง
2. การมอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
3. การนำเสนองานทางวาจา
1. การนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
2. การทดสอบโดยใช้แบบทดสอบหรือสัมภาษณ์
4.1  มีความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายทั้งของตนเอง และรับผิดชอบในงานกลุ่ม
4.2  สามารถปรับตัวทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำกลุ่ม และสมาชิกกลุ่มได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม กิจกรรมการบูรณการร่วมระหว่างการเรียนการสอนกับงานบริการวิชาการสู่ชุมชนร่วมกับวิสาหกิจขนาดย่อม
2. การนำเสนองานด้วยทางวาจา
ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษาในการนำเสนอรายงานกลุ่มในชั้นเรียน การตอบข้อซักถามของอาจารย์และสังเกตจากพฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่างๆ
5.2 สามารถสรุปประเด็นและสื่อสาร ทั้งการพูดและการเขียน รู้จักการเลือกใช้รูปแบบของการนำเสนอที่เหมาะสมสำหรับเรื่องและผู้ฟังที่ต่างกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ 
5.3 สามารถระบุ เข้าถึง และคัดเลือกแหล่งข้อมูลความรู้ที่เกี่ยวข้องกับสาระสำคัญของวิชานั้นๆ จากแหล่งข้อมูล
5.6 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
5.7 สามารถใช้ภาษาไทยได้อย่างถูกต้องทั้งภาษาพูดและภาษาเขียน และภาษาอังกฤษในระดับใช้งานได้อย่างเหมาะสม
1. ใช้  Power point
2. มีการนำเสนอข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
3. การแนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูล
4. การมอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
5. การนำเสนองานด้วยวิธีโปสเตอร์ และวาจา
ประเมินจากเทคนิคการนำเสนอโดยใช้ทฤษฏีการเลือกใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศหรือคณิตศาสตร์และสถิติที่เกี่ยวข้อง เช่น การคำนวณเพื่อเตรียมสารเคมี หรือ การนำเสนอการทดลองด้วยโปรแกรมนำเสนอต่าง ๆ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา คุณธรรม จริยธรรม ความรู้ ทักษะปัญญา ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล และความรับผิดชอบ ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 3 4 1 3 1 2 1 2 2 3 6 7
1 BSCFT131 การจัดการธุรกิจอาหารขนาดย่อม
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1, 2.1, 2.3 สอบกลางภาค และปลายภาค 9 และ 17 50%
2 1.3, 1.4, 4.1 และ 4.2 กิจกรรมย่อยในชั้นเรียน 1-8 และ 10-16 20%
3 3.1, 3.2, 4.1, 4.2, 5.2, 5.3, 5.6, 5.7 งานที่ได้รับมอบหมาย 16 30%
กองอาหาร. (2566). คู่มือการตรวจสถานที่ผลิตอาหาร ตามหลักเกณฑ์วิธีการที่ดีในการผลิตที่บังคับใช้เป็นกฎหมาย (GMP420) ฉบับปรับปรุง 3. สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา. สำนักงานกิจการโรงพิมพ์องค์สงเคราะห์ทหารผ่านศึก.
ฉัตยาพร เสมอใจ. (2558). การจัดการธุรกิจขนาดย่อม. ซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด.
พรนภา เปี่ยมไชย. (2556). การบริหารธุรกิจขนาดย่อม. ทริปเพิ้ล เอ็ดดูเคชั่น จำกัด.ฃ
พิทวัส เอื้อสังคมเศรษฐ์. (2563). การจัดการธุรกิจอาหารขนาดกลางและขนาดย่อม. ศูนย์หนังสือแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ และส านักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาต. 2565. คู่มือการใช้งาน ระบบการขึ้นทะเบียนวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมเพื่อการจัดซื้อ จัดจ้างภาครัฐ (SME-GP) สำหรับผู้ประกอบการ SME. สืบค้นจาก https://s3gw.inet.co.th:8082/smegp-storage/public/documents/SME-GP_full.pdf
สิริวงษ์ เอียสกุล. (2562). การจัดการธุรกิจขนาดย่อม (พิมพ์ครั้งที่ 2). โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
สุธีรา อะทะวงษา. (2560). การจัดการธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม. เชียงใหม่โรงพิมพ์แสงศิลป์
 
ไบรอัน ฟินช์. (2560). How to Write a Business Plan ทำแผนธุรกิจแบบมืออาชีพ. เนชั่นบุ๊คส์
 
- https://www.qsrmagazine.com/
- https://www.restaurantbusinessonline.com/
- https://www.thairath.co.th/money
- https://www.sme.go.th
- https://www.smebank.co.th
- https://www.kasikornbank.com/th/kbiz/article/pages/guide-for-sme-business-and-how-it-works.aspx
- https://food.fda.moph.go.t
1.1 แบบประเมินประสิทธิผลของรายวิชา โดยนักศึกษาเมื่อหมดภาคการศึกษา
1.2 แบบประเมินประสิทธิผลของรายวิชา โดยอาจารย์ผู้สอนเมื่อหมดภาคการศึกษา
1.3 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน ตั้งคำถามระหว่างบรรยายเพื่อกระตุ้นการแสดงออกทางความคิด
     1.4 ให้นักศึกษาประเมินพัฒนาการของตนเองโดยเปรียบเทียบ ความรู้ ทักษะในการประมวล/คิดวิเคราะห์ก่อนและหลังการเรียนรายวิชานี้
หลักสูตรแต่งตั้งกรรมการประเมินการสอนในแต่ละรายวิชา โดยให้หัวหน้าสาขาหลักสูตร ในฐานะประธานหลักสูตรวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร และอาจารย์ประจำหลักสูตรอย่างน้อย 1 ท่าน เป็นผู้ทำหน้าที่ในการประเมินการสอน โดยการสุ่มรายวิชาอย่างน้อย 3 รายวิชา ที่เปิดสอนในแต่ละภาคการศึกษา
3.1 ปรับปรุงหลักสูตรให้ตอบสนองความต้องการของประเทศที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจอาหารขนาดย่อม การเปลี่ยนแปลงของโลก โดยพัฒนาหลักสูตรทุก 5 ปี
3.2 ปรับปรุงการสอนโดยเพิ่มเติมข้อมูลทางวิชาจากที่เป็นปัจจุบัน ทันสมัย และบูรณาการข้อมูลหรือความรู้ที่ได้จากงานวิจัย ข้อมูลจากการฝึกอบรมต่าง ร่วมกับข้อมูลที่นักศึกษาประเมิน ข้อมูลจาก มคอ.5 จากปีการศึกษาที่ผ่านมา และคำแนะนำจากอาจารย์ผู้ที่มีประสบการณ์การสอนรายวิชา รวมถึงวิธีการสอน เพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ที่ดีขึ้นแก่นักศึกษา
1. มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยให้อาจารย์ผู้จัดการรายวิชาร่วมกับผู้สอน มีการรายงานวิธีการที่ใช้ในการประเมิน เกณฑ์การประเมิน และผลการประเมินของนักศึกษา
2. คณะกรรมการบริหารหลักสูตร นำผลการเปรียบเทียบหารือและทำความเข้าใจกับอาจารย์ผู้สอน พร้อมทั้งหาแนวทางพัฒนา
1. ปรับปรุงรายวิชาตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์และข้อมูลจาก มคอ.5
2. สับเปลี่ยนอาจารย์ผู้สอน หรือจัดหาอาจารย์ผู้สอนท่านอื่นที่มีความเชี่ยวชาญเพิ่มเติมเพื่อร่วมสอนในรายวิชาดังกล่าว โดยหากมีการเปลี่ยนแปลงการดำเนินการจะนำเสนอในที่ประชุมสาขาวิชา เพื่อพิจารณาต่อไป