เทคโนโลยีการสื่อสาร

Communication Technology

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจ และการปฏิบัติเกี่ยวกับเทคโนโลยีการสื่อสารด้วยสัญญาณไฟฟ้า ชนิดของการสื่อสารทั้งแบบมี สายและแบบไรสาย กล่าวนำเกี่ยวกับสัญญาณและระบบ สเปคตรัมของสัญญาณ เทคโนโลยีการมอดูเลตและดีมอดูเลตสัญญาณ สัญญาณรบกวนที่เกิดขึ้นใน  ระบบสื่อสาร การแพรกระจายคลื่น เทคโนโลยีของอุปกรณ์การสื่อสารสมัยใหม่ การ สื่อสารผ่านดาวเทียมและการสื่อสารทางแสงเบื้องต้น
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐาน เป็นการเตรียมความพร้อมด้านปัญหาในการนำความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับเทคโนโลยีการสื่อสารด้วยสัญญาณไฟฟ้า ชนิดของการสื่อสารทั้งแบบมี สายและแบบไรสาย กล่าวนำเกี่ยวกับสัญญาณและระบบ สเปคตรัมของสัญญาณ เทคโนโลยีการมอดูเลตและดีมอดูเลตสัญญาณ สัญญาณรบกวนที่เกิดขึ้นใน  ระบบสื่อสาร การแพรกระจายคลื่น เทคโนโลยีของอุปกรณ์การสื่อสารสมัยใหม่ การ สื่อสารผ่านดาวเทียมและการสื่อสารทางแสงเบื้องต้น
ศึกษาเกี่ยวกับเทคโนโลยีการสื่อสารด้วยสัญญาณไฟฟ้า ชนิดของการสื่อสารทั้งแบบมี สายและแบบไรสาย กล่าวนำเกี่ยวกับสัญญาณและระบบ สเปคตรัมของสัญญาณ เทคโนโลยีการมอดูเลตและดีมอดูเลตสัญญาณ สัญญาณรบกวนที่เกิดขึ้นใน ระบบสื่อสาร การแพรกระจายคลื่น เทคโนโลยีของอุปกรณ์การสื่อสารสมัยใหม่ การ สื่อสารผ่านดาวเทียมและการสื่อสารทางแสงเบื้องต้น
-  อาจารย์ประจำรายวิชา  ประกาศเวลาให้คำปรึกษาผ่านเว็บไซต์คณะ
 -  อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
1.1.1 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
1.1.2 มีจิตสานึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
1.1.3 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
1.1.4 การเคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งการเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1.2.1 อาจารย์ผู้สอนปฏิบัติตนเป็นตัวอย่าง ในประเด็นต่างๆทางด้านจริยธรรม เช่นการตรงต่อเวลา การแต่งกายที่เป็นไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัยฯ การเคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็น ฯลฯ
1.2.2 ใช้ระบบการสอนแบบการสื่อสารสองทาง เปิดโอกาสให้นักศึกษามีโอกาสตั้งคำถาม ตอบคำถามและแสดงความคิดเห็นในประเด็นต่างๆทางด้านจริยธรรม เช่น เรื่องความมีวินัย ความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม ฯลฯ
1.3.1 ประเมินพฤติกรรมของนักศึกษาที่แสดงออกในชั้นเรียน ที่เกี่ยวข้องกับประเด็นต่างๆทางด้าน จริยธรรม
1.3.2 ประเมินการมีวินัยและความรับผิดชอบของนักศึกษาต่อการเรียน การตรงต่อเวลาในการเข้าชั้นเรียน การจัดส่งรายงานที่ได้รับมอบหมาย ตลอดถึงการแต่งกายที่เป็นไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัยฯ
2.1.1 ประเมินพฤติกรรมของนักศึกษาที่แสดงออกในชั้นเรียน ที่เกี่ยวข้องกับประเด็นต่างๆทางด้าน จริยธรรม
2.1.2 ประเมินการมีวินัยและความรับผิดชอบของนักศึกษาต่อการเรียน การตรงต่อเวลาในการเข้าชั้นเรียน การจัดส่งรายงานที่ได้รับมอบหมาย ตลอดถึงการแต่งกายที่เป็นไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัยฯ
2.2.1 บรรยาย อภิปราย การทารายงานและการนาเสนอรายงาน และมอบหมายให้ค้นหาบทความ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง และเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
2.3.1   การสอบกลางภาค
2.3.2   การสอบปลายภาค
2.3.3   การทำรายงานกลุ่ม
2.3.4   การมีส่วนร่วมในการเรียน และการตรงต่อเวลา
3.1.1 นักศึกษารู้จักคิดหาเหตุผล เข้าใจที่มาและสาเหตุของปัญหา แนวคิดและวิธีการแก้ปัญหาด้วยตนเองมีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการ และวิชาชีพ  มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
3.2.1   การมอบให้นักศึกษาทำโครงงานพิเศษที่ให้วิเคราะห์และแก้ไขปัญหา และการนำเสนอผลงาน
3.2.2   อภิปรายกลุ่ม
3.2.3   วิเคราะห์กรณีศึกษา  สถานการณ์จำลองในการประยุกต์ใช้การวัดและเครื่องมือทางไฟฟ้า
3.2.4   การสะท้อนแนวคิดจากการประพฤติ
3.3.1   สอบกลางภาคและปลายภาค  โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์สถานการณ์ หรือวิเคราะห์แนวคิดในการประยุกต์ใช้การวัดและเครื่องมือทางไฟฟ้า
3.3.2   วัดผลจากการประเมินโครงการ  การนำเสนอผลงาน
3.3.3   สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
4.1.1   พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
4.1.2   พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม
4.1.3   พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
4.2.1   จัดกิจกรรมในชั้นเรียนเพื่อให้นักศึกษามีโอกาสมีปฏิสัมพันธ์กับนักศึกษาที่เรียนด้วยกัน
4.2.2   มอบหมายรายงานกลุ่มและมีการเปลี่ยนกลุ่มรายงานตามกิจกรรมที่ได้รับมอบหมาย
4.2.3   การนำเสนอรายงาน
5.1.1   ทักษะด้านการคำนวณตามที่ปรากฏในบทเรียนต่างๆ
5.1.2  ทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การเขียน โดยการทำรายงาน และนำเสนอในชั้นเรียน
5.1.3   ทักษะในการแก้ไขปัญหาโดยการประยุกต์ใช้หลักการต่างๆของการวัดและเครื่องมือวัดทางไฟฟ้าต่อปัญหาที่เกี่ยวข้องอย่างสร้างสรรค์
5.1.4   ทักษะในการสืบค้น  ข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
5.1.5   ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสาร เช่น การส่งทางอีเมล์
5.1.6   ทักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.2.1   บรรยายโดยอาศัยเอกสารประกอบการสอน/เอกสารนำเสนอในการสอน และยกตัวอย่างโจทย์รวมถึงวิธีการแก้ปัญหา
5.2.2    กระตุ้นให้นักศึกษาเห็นประโยชน์จากการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลและการนำเสนอรายงาน
5.2.3   แนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูลและแหล่งข้อมูล
5.2.4   การมอบหมายรายงานที่ต้องมีการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อช่วยในการจัดทำรายงาน รวมถึงต้องมีการนำเสนอทั้งในรูปเอกสารและด้วยวาจาประกอบสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ เช่น Power point ฯล
5.3.1   ประเมินทักษะการใช้ภาษาเขียนจากเอกสารรายงาน
5.3.2   ประเมินทักษะการใช้สื่อและการใช้ภาษาพูดจากการนำเสนอรายงานหน้าชั้นเรียน
5.3.4   ประเมินทักษะในการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศจากเนื้อหาของเอกสารรายงาน
5.3.5   ประเมินทักษะด้านการคำนวณและแก้ปัญหาต่างๆดังกล่าวข้างต้นด้วยการสอบกลางภาคและปลายภาค
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1-4.3 5.1-7.5 สอบกลางภาค ทฤษฎี สอบปลายภาค ทฤษฎี 9,18 30% 30%
2 1.1-7.5 วิเคราะห์กรณีศึกษาค้นคว้า การพัฒนา ตลอดภาคการศึกษา 30%
3 1.1-7.5 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
“เอกสารสอนเทคโนโลยีการสื่อสาร”  มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง หลักการวิศวกรรมโทรคมนาคม / ลัญฉกร วุฒิสิทธิกุลกิจ - พิมพ์ครั้่งที่ 2. - กรุงเทพฯ : ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2559 - 474 หน้า
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เช่น Wikipedia คำอธิบายศัพท์
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด  ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
 
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ