การบริหารงานวิศวกรรม
Engineering Management
เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับหลักการทางวิศวกรรมและการบริหารงานเบื้องต้น อาทิ ระบบการบริหารและจัดองค์การงานวิศวกรรม การวางแผนงานด้วยวิธี Bar Chart และ CPM หลักเศรษฐศาสตร์และการประมาณราคาเบื้องต้นเพื่อใช้ในงานวิศวกรรม รวมทั้งการแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากผู้ประกอบการด้านวิศวกรรม
ด้วยหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา มีความสัมพันธ์กับหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต ทั้งสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องและสาขาวิชาอื่นที่เปิดสอนในสาขาหรือคณะที่ต่างกันของสถาบัน ประกอบกับการเปลี่ยนแปลงและการขยายตัวทางเศรษฐกิจของประเทศรวมทั้งของโลกแบบก้าวกระโดด ย่อมก่อให้เกิดผลกระทบโดยตรงและโดยอ้อมต่อสิ่งแวดล้อมตลอดจนคุณภาพชีวิตของประชากรจำนวนมาก
ดังนั้น สาขาวิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม จึงได้ปรับปรุงรายวิชาและเนื้อหา ENGEV509 ให้ทันกับความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรอบด้านโดยเน้นการนำไปใช้ในการทำงาน ทั้งนี้เพื่อให้ผู้เรียนสามารถมีความรู้และความเข้าใจหลักการทางวิศวกรรมและการบริหารงานเบื้องต้น และสามารถประยุกต์ใช้หลักการบริหารในงานของตน ในฐานะผู้ร่วมทีมและผู้นำทีมเพื่อบริหารจัดการโครงการวิศวกรรมที่มีสภาพแวดล้อมการทำงานความหลากหลายสาขาวิชาชีพ ตามลำดับ
ดังนั้น สาขาวิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม จึงได้ปรับปรุงรายวิชาและเนื้อหา ENGEV509 ให้ทันกับความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรอบด้านโดยเน้นการนำไปใช้ในการทำงาน ทั้งนี้เพื่อให้ผู้เรียนสามารถมีความรู้และความเข้าใจหลักการทางวิศวกรรมและการบริหารงานเบื้องต้น และสามารถประยุกต์ใช้หลักการบริหารในงานของตน ในฐานะผู้ร่วมทีมและผู้นำทีมเพื่อบริหารจัดการโครงการวิศวกรรมที่มีสภาพแวดล้อมการทำงานความหลากหลายสาขาวิชาชีพ ตามลำดับ
ศึกษาระบบการบริหารและจัดองค์การงานวิศวกรรม การวางแผนงานด้วยวิธี Bar Chart และ CPM หลักเศรษฐศาสตร์และการประมาณราคาเบื้องต้นเพื่อใช้ในงานวิศวกรรม รวมทั้งการแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากผู้ประกอบการด้านวิศวกรรม
จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
1.1.1 มีวินัย ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
1.1.2 สามารถวิเคราะห์และประเมินผลกระทบจากการใช้ความรู้ทางวิศวกรรมต่อบุคคล องค์กรสังคมและสิ่งแวดล้อม
1.1.2 สามารถวิเคราะห์และประเมินผลกระทบจากการใช้ความรู้ทางวิศวกรรมต่อบุคคล องค์กรสังคมและสิ่งแวดล้อม
1.2.1 ให้ความรู้โดยสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพในเนื้อหาของบทเรียนต่างๆ
1.2.2 ให้นักศึกษาทำที่มอบหมายด้วยตัวเอง และส่งภายในเวลาที่กำหนด โดยค้นคว้าจากแหล่งข้อมูลต่างๆ และมีการอ้างอิงแหล่งที่มาโดยไม่มีการคัดลอกหรือแอบอ้างผลงานผู้อื่นมาเป็นของตนเอง
1.2.3 ให้นักศึกษานำความรู้ที่ค้นคว้ามา แลกเปลี่ยนความรู้กับเพื่อนในกลุ่มและนำเสนอผลงานเขียนที่สร้างสรรค์ โดยไม่ส่งผลกระทบในทางลบต่อสังคมและชุมชน
1.2.2 ให้นักศึกษาทำที่มอบหมายด้วยตัวเอง และส่งภายในเวลาที่กำหนด โดยค้นคว้าจากแหล่งข้อมูลต่างๆ และมีการอ้างอิงแหล่งที่มาโดยไม่มีการคัดลอกหรือแอบอ้างผลงานผู้อื่นมาเป็นของตนเอง
1.2.3 ให้นักศึกษานำความรู้ที่ค้นคว้ามา แลกเปลี่ยนความรู้กับเพื่อนในกลุ่มและนำเสนอผลงานเขียนที่สร้างสรรค์ โดยไม่ส่งผลกระทบในทางลบต่อสังคมและชุมชน
1.3.1 ประเมินจากการตรงเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมายและการร่วมกิจกรรม
1.3.3 ปริมาณการกระทำทุจริตในการสอบ
1.3.4 ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
1.3.5 ประเมินจากคุณภาพของงานที่ได้รับมอบหมาย ที่สะท้อนถึงความตั้งใจ ความรับผิดชอบของนักศึกษา
1.3.3 ปริมาณการกระทำทุจริตในการสอบ
1.3.4 ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
1.3.5 ประเมินจากคุณภาพของงานที่ได้รับมอบหมาย ที่สะท้อนถึงความตั้งใจ ความรับผิดชอบของนักศึกษา
2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการที่สำคัญในเนื้อหาของรายวิชาบริหารงานวิศวกรรม
2.1.2 สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
2.1.2 สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
2.2.1 บรรยายและอธิบายความรู้ในบทเรียนพร้อมเปิดโอกาสให้ซักถาม
2.2.2 ฝึกปฏิบัติอย่างเป็นขั้นตอนและแลกเปลี่ยนความรู้กับเพื่อนในชั้นเรียน
2.2.3 แลกเปลี่ยนเรียนรู้และถ่ายทอดประสบการณ์โดยผู้ประกอบการด้านวิศวกรรม
2.2.3 จัดให้มีการเรียนรู้ในภาคสนามโดยการนำนักศึกษาไปทัศนศึกษาดูงานในสถานที่จริง นอกชั้นเรียน พร้อมให้นักศึกษาทำรายงานประกอบเป็นกลุ่มพร้อมนำเสนอผลงาน
2.2.2 ฝึกปฏิบัติอย่างเป็นขั้นตอนและแลกเปลี่ยนความรู้กับเพื่อนในชั้นเรียน
2.2.3 แลกเปลี่ยนเรียนรู้และถ่ายทอดประสบการณ์โดยผู้ประกอบการด้านวิศวกรรม
2.2.3 จัดให้มีการเรียนรู้ในภาคสนามโดยการนำนักศึกษาไปทัศนศึกษาดูงานในสถานที่จริง นอกชั้นเรียน พร้อมให้นักศึกษาทำรายงานประกอบเป็นกลุ่มพร้อมนำเสนอผลงาน
2.3.1 การทดสอบย่อย
2.3.2 ประเมินจากแบบฝึกปฏิบัติ
2.3.2 ประเมินจากรายงานที่นักศึกษาจัดทำ
2.3.3 ประเมินจากการนำเสนอผลงานในชั้นเรียน
2.3.2 ประเมินจากแบบฝึกปฏิบัติ
2.3.2 ประเมินจากรายงานที่นักศึกษาจัดทำ
2.3.3 ประเมินจากการนำเสนอผลงานในชั้นเรียน
3.1.1 มีความคิดอย่างมีวิจารณญาณที่ดี
3.1.2 สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และ สรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ
3.1.2 สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และ สรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ
3.2.1 การประยุกต์หลักการบริหารงานวิศวกรรมกับวิชาชีพวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม
3.2.2 การอภิปรายกลุ่ม
3.2.3 การศึกษาดูงานระบบในสถานที่จริง
3.2.2 การอภิปรายกลุ่ม
3.2.3 การศึกษาดูงานระบบในสถานที่จริง
3.3.1 การร่วมกลุ่มกิจกรรมในชั้นเรียน
3.3.2 พิจารณาจากงานที่มอบหมาย
3.3.2 พิจารณาจากงานที่มอบหมาย
4.1.1 สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนที่หลากหลาย และสามารถสนทนาทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถใช้ความรู้ในสาขาวิชาชีพมาสื่อสารต่อสังคมได้ในประเด็นที่เหมาะสม
4.1.2 รู้จักบทบาท หน้าที่ และมีความรับผิดชอบในการทำงานตามที่มอบหมาย ทั้งงานบุคคลและงานกลุ่ม สามารถปรับตัวและทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถวางตัวได้อย่างเหมาะสมกับความรับผิดชอบ
4.1.2 รู้จักบทบาท หน้าที่ และมีความรับผิดชอบในการทำงานตามที่มอบหมาย ทั้งงานบุคคลและงานกลุ่ม สามารถปรับตัวและทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถวางตัวได้อย่างเหมาะสมกับความรับผิดชอบ
4.2.1 จัดกิจกรรมแบบกลุ่มย่อยในชั้นเรียนให้เกิดการทำงานร่วมกับผู้อื่น
4.2.2 ส่งเสริมความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย
4.2.3 ส่งเสริมการปรับตัวเข้ากับสถานการณ์และวัฒนธรรมองค์กรที่ไปปฏิบัติงานได้เป็นอย่างดี
4.2.2 ส่งเสริมความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย
4.2.3 ส่งเสริมการปรับตัวเข้ากับสถานการณ์และวัฒนธรรมองค์กรที่ไปปฏิบัติงานได้เป็นอย่างดี
4.3.1 การร่วมกลุ่มกิจกรรมในชั้นเรียน
4.3.2 พิจารณาจากผลงานที่มอบหมาย
4.3.3 พิจารณาจากพฤติกรรมของนักศึกษาแต่ละบุคคลรวมถึงพฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
4.3.2 พิจารณาจากผลงานที่มอบหมาย
4.3.3 พิจารณาจากพฤติกรรมของนักศึกษาแต่ละบุคคลรวมถึงพฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
5.1.1 ทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลจากกรณีศึกษา
5.1.2 ทักษะในการสืบค้น ข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
5.1.3 ทักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.1.2 ทักษะในการสืบค้น ข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
5.1.3 ทักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.2.1 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองโดยการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
5.2.2 นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.2.2 นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.1 ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
5.3.2 ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
5.3.2 ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
6.1.1. มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการได้อย่างมีประสิทธิภาพ
6.1.2. มีทักษะในการปฏิบัติงานกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ และมีความร่วมมือกันเป็นอย่างดี
6.1.2. มีทักษะในการปฏิบัติงานกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ และมีความร่วมมือกันเป็นอย่างดี
6.2.1. สร้างทักษะในการปฏิบัติงาน
6.2.2. สาธิตการปฏิบัติการโดยผู้เชี่ยวชาญ
6.2.2. สาธิตการปฏิบัติการโดยผู้เชี่ยวชาญ
6.3.1. มีการประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติงาน
6.3.2. มีการประเมินผลการทำงานในภาคปฏิบัติ
6.3.2. มีการประเมินผลการทำงานในภาคปฏิบัติ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา | คุณธรรม จริยธรรม | ความรู้ | ทักษะทางปัญญา | ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ | ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา | ทักษะพิสัย | |||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ลำดับ | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | 1.1.1 มีวินัย ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม | 1.1.2 สามารถวิเคราะห์และประเมินผลกระทบจากการใช้ความรู้ทางวิศวกรรมต่อบุคคล องค์กรสังคมและสิ่งแวดล้อม | 2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการที่สำคัญในเนื้อหาของรายวิชาบริหารงานวิศวกรรม | 2.1.2 สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง | 3.1.2 สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และ สรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ | 3.1.1 มีความคิดอย่างมีวิจารณญาณที่ดี | 4.1.1 สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนที่หลากหลาย และสามารถสนทนาทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถใช้ความรู้ในสาขาวิชาชีพมาสื่อสารต่อสังคมได้ในประเด็นที่เหมาะสม | 4.1.2 รู้จักบทบาท หน้าที่ และมีความรับผิดชอบในการทำงานตามที่มอบหมาย ทั้งงานบุคคลและงานกลุ่ม สามารถปรับตัวและทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถวางตัวได้อย่างเหมาะสมกับความรับผิดชอบ | 5.1.1 ทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลจากกรณีศึกษา | 5.1.2 ทักษะในการสืบค้น ข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ | 5.1.3 ทักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม | 6.1.1. มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการได้อย่างมีประสิทธิภาพ | 6.1.2. มีทักษะในการปฏิบัติงานกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ และมีความร่วมมือกันเป็นอย่างดี |
1 | ENGEV509 | การบริหารงานวิศวกรรม |
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | 2.1.1,2.1.2,2.1.3 2.1.1,2.1.2,2.1.3 | สอบกลางภาค สอบปลายภาค | 9 17 | 20% 20% |
2 | .1.2,3.1.3 3.2.1,3.2.2,4.1.2,4.1.5 1.1.3 | วิเคราะห์กรณีศึกษาค้นคว้า การนำเสนอรายงาน การทำงานกลุ่มและผลงาน การส่งงานตามที่มอบหมาย | ตลอดภาค การศึกษา | 50% |
3 | 1.1.5 4.2.1,4.2.2,4.2.3 | การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วมกิจกรรมนอกชั้นเรียน การอภิปราย การเสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน | ตลอดภาคการศึกษา | 10% |
1 วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์. (2559). ขอบเขตและหน้าที่การให้บริการวิชาชีพการบริหารงานก่อสร้าง. กรุงเทพฯ : วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์.
2 คณะอนุกรรมการสาขาบริหารงานก่อสร้าง วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์. (2552). แนวทางการบริหารโครงการและควบคุมงานก่อสร้าง.กรุงเทพฯ : วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย.
3 สันติ ชินานุวัติวงศ์. (2553). วิศวกรรมก่อสร้างและการจัดการ. กรุงเทพฯ สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
4 กวี หวังนิเวศน์กุล. (2548). การบริหารงานวิศวกรรมก่อสร้าง. กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น.
2 คณะอนุกรรมการสาขาบริหารงานก่อสร้าง วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์. (2552). แนวทางการบริหารโครงการและควบคุมงานก่อสร้าง.กรุงเทพฯ : วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย.
3 สันติ ชินานุวัติวงศ์. (2553). วิศวกรรมก่อสร้างและการจัดการ. กรุงเทพฯ สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
4 กวี หวังนิเวศน์กุล. (2548). การบริหารงานวิศวกรรมก่อสร้าง. กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น.
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
1.1.การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2.แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
1.3.การสังเกตการณ์อภิปรายผลการเรียนรู้ทั้งรายเดี่ยวและรายกลุ่ม
1.1.การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2.แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
1.3.การสังเกตการณ์อภิปรายผลการเรียนรู้ทั้งรายเดี่ยวและรายกลุ่ม
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2 ผลการเรียนและผลงานของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2 ผลการเรียนและผลงานของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ สอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยผู้เชี่ยวชาญจากภายนอกสาขา หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยผู้เชี่ยวชาญจากภายนอกสาขา หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับกิจกรรมเสริมการเรียนรู้จากประสบการณ์นอกชั้นเรียน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้หรือบูรณาการข้ามศาสตร์กับสาขาวิชาของตน
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับกิจกรรมเสริมการเรียนรู้จากประสบการณ์นอกชั้นเรียน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้หรือบูรณาการข้ามศาสตร์กับสาขาวิชาของตน