วิเคราะห์ศิลปกรรมและสัมมนา
Art Analysis and Seminar
1. จุดมุ่งหมายของรายวิชา
1 รู้ประวัติความเป็นมาของการคิดเชิงวิเคราะห์ในลักษณะต่างๆเพื่อนำมาใช้ศึกษากระบวนการสร้างสรรค์ทางศิลปะ
2. . รู้แบบอย่างขั้นตอน, ลำดับวิธีการคิดวิเคราะห์ ประมวลผลขั้นต้นของการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะร่วมสมัยในสังคมในประเด็นต่างๆโดยสังเขป
3.รู้ประวัติและแบบอย่างขั้นตอนการอภิปรายสัมมนาเพื่อใช้ค้นคว้าและแลกเปลี่ยนข้อมูลทางความคิด, คัดเลือกและนำเสนอความรู้ที่ใช้ในการศึกษา จากบริบททางศิลปะสังคมและวัฒนธรรมที่คาบเกี่ยวกันในงานศิลปกรรมร่วมสมัย ในปัจจุบันได้
4. สามารถเรียบเรียงและการถ่ายทอดเนื้อหาข้อมูลที่ใช้ในการศึกษาเชิงวิเคราะห์ในรูปแบบผลงานศิลปกรรมในลักษณะเฉพาะตนอย่างมีระบบหรือเป็นรูปเล่มรายงานหรือเป็นรูปแบบการจัดสัมนาทางศิลปะได้
1 รู้ประวัติความเป็นมาของการคิดเชิงวิเคราะห์ในลักษณะต่างๆเพื่อนำมาใช้ศึกษากระบวนการสร้างสรรค์ทางศิลปะ
2. . รู้แบบอย่างขั้นตอน, ลำดับวิธีการคิดวิเคราะห์ ประมวลผลขั้นต้นของการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะร่วมสมัยในสังคมในประเด็นต่างๆโดยสังเขป
3.รู้ประวัติและแบบอย่างขั้นตอนการอภิปรายสัมมนาเพื่อใช้ค้นคว้าและแลกเปลี่ยนข้อมูลทางความคิด, คัดเลือกและนำเสนอความรู้ที่ใช้ในการศึกษา จากบริบททางศิลปะสังคมและวัฒนธรรมที่คาบเกี่ยวกันในงานศิลปกรรมร่วมสมัย ในปัจจุบันได้
4. สามารถเรียบเรียงและการถ่ายทอดเนื้อหาข้อมูลที่ใช้ในการศึกษาเชิงวิเคราะห์ในรูปแบบผลงานศิลปกรรมในลักษณะเฉพาะตนอย่างมีระบบหรือเป็นรูปเล่มรายงานหรือเป็นรูปแบบการจัดสัมนาทางศิลปะได้
ในการพัฒนาปรับปรุงรายวิชาวิเคราะห์ศิลปกรรมซึ่งการเรียนการสอนโดยทั่วไปจะใช้เรียนร่วมกับวิชาเฉพาะทางทัศนศิลป์ ของนักศึกษาชั้นปีที่3ซึ่งเป็นวิชาที่เกี่ยวกับการสร้างสรรค์ตามรายวิชาเอกของผู้เรียน เช่น ประติมากรรมสร้างสรรค์เฉพาะตน. , ศิลปะภาพพิม์สร้างสรรค์เฉพาะตน. เป็นต้น. สามารถใช้ร่วมกับหลักสูตรทางการสร้างสรรค์อื่นๆได้ สำหรับใช้สอนนักศึกษาหลักสูตรศิลปบัณฑิตสาขาวิชาทัศนศิลป์ ซึ่งมีเนื้อหาสาระเกี่ยวกับศึกษาศึกษาเกี่ยวกับหลักการวิเคราะห์ที่มาของแรงบันดาลใจ แนวคิด เนื้อหา รูปแบบ และเทคนิคในการแสดงออกจากการค้นคว้าและสังเคราะห์ข้อมูลอย่างมีระบบและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับทักษะในการค้นคว้าหาข้อมูลและเข้าใจกระบวนการสร้างสรรค์ผลงานทางศิลปกรรม เพื่อพัฒนาแนวทางในการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะในลักษณะเฉพาะตน รวมถึงการค้นคว้าและสังเคราะห์ข้อมูลทางสังคมวัฒนธรรมปัจจุบันอย่างมีระบบ สามารถ นำเสนอประเด็นที่เกี่ยวข้องกับผลงานศิลปะ มาอภิปรายร่วมกันและเสนอข้อคิดเห็น โดย ใช้กระบวนการวิเคราะห์และแลกเปลี่ยนความรู้ด้วยหลักการสัมนาทางทัศนศิลป์
ศึกษาเกี่ยวกับหลักการ วิเคราะห์ที่มาของแรงบันดาลใจ แนวคิด เนื้อหา รูปแบบ และเทคนิคในการแสดงออก การค้นคว้าและสังเคราะห์ข้อมูลอย่างมีระบบ เพื่อพัฒนาแนวทางในการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะในลักษณะเฉพาะตน รวมถึงการค้นคว้าและสังเคราะห์ข้อมูลทางสังคมวัฒนธรรมปัจจุบันอย่างมีระบบ สามารถ นำเสนอประเด็นที่เกี่ยวข้องกับผลงานศิลปะ อภิปรายร่วมกันและเสนอข้อคิดเห็น โดย ใช้กระบวนการวิเคราะห์
Study principles for analyzing sources of inspiration, concepts, contents, forms, and expression techniques; systematic research and synthesis of data to develop guidelines for creating individual style in artworks. Systematically research and synthesis of data relating to current society and culture. Give a presentation on aspects concerning artworks. Discuss and give opinions using analysis process, studied principles, analysis of inspiration sources, concepts, contents, forms, expression techniques, systematic research, and data synthesis.
Study principles for analyzing sources of inspiration, concepts, contents, forms, and expression techniques; systematic research and synthesis of data to develop guidelines for creating individual style in artworks. Systematically research and synthesis of data relating to current society and culture. Give a presentation on aspects concerning artworks. Discuss and give opinions using analysis process, studied principles, analysis of inspiration sources, concepts, contents, forms, expression techniques, systematic research, and data synthesis.
การศึกษาด้วยตนเอง 2 ชั่วโมง ต่อสัปดาห์
1.1 ด้านคุณธรรมจริยธรรม
1) เน้นผลการเรียนรู้ด้านคุณธรรมจริยธรรม
(1) เน้นในด้านความซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
(2)มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น
(3) มีจิตอาสา จิตสานึกสาธารณะ
1) เน้นผลการเรียนรู้ด้านคุณธรรมจริยธรรม
(1) เน้นในด้านความซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
(2)มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น
(3) มีจิตอาสา จิตสานึกสาธารณะ
2) กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม
สอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรมในการสอน รวมทั้งมีการจัดกิจกรรม
ส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม สอนความรู้ จรรยาบรรณทางด้านวิชาการและวิชาชีพ ในรายวิชา สอนให้มี
ระเบียบวินัย ฝึกให้รู้หน้าที่ในการทำงาน มีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
สอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรมในการสอน รวมทั้งมีการจัดกิจกรรม
ส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม สอนความรู้ จรรยาบรรณทางด้านวิชาการและวิชาชีพ ในรายวิชา สอนให้มี
ระเบียบวินัย ฝึกให้รู้หน้าที่ในการทำงาน มีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
3) กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม
ประเมินจากการตรวจสอบแผนการสอนในเรื่องของคุณธรรม จริยธรรม ใน
ทุกวิชา ประเมินจากผลการดาเนินงานตามแผนการสอน และ ประเมินจากการสังเกตพฤติกรรม
2) กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม
สอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรมในการสอน รวมทั้งมีการจัดกิจกรรม
ส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม สอนความรู้ จรรยาบรรณทางด้านวิชาการและวิชาชีพ ในรายวิชา สอนให้มี
ระเบียบวินัย ฝึกให้รู้หน้าที่ในการทางาน มีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
ประเมินจากการตรวจสอบแผนการสอนในเรื่องของคุณธรรม จริยธรรม ใน
ทุกวิชา ประเมินจากผลการดาเนินงานตามแผนการสอน และ ประเมินจากการสังเกตพฤติกรรม
2) กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม
สอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรมในการสอน รวมทั้งมีการจัดกิจกรรม
ส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม สอนความรู้ จรรยาบรรณทางด้านวิชาการและวิชาชีพ ในรายวิชา สอนให้มี
ระเบียบวินัย ฝึกให้รู้หน้าที่ในการทางาน มีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
1) ผลการเรียนรู้ด้านความรู้
(1) รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรม และศาสตรอื่นที่เกี่ยวข้อง
(2) เน้นให้มีความสามารถในการค้นคว้าแก้ปัญหา และพัฒนาทางด้านศิลปกรรม
ศาสตร์อย่างเป็นระบบ
(3) มีความรู้ในทางศิลปะที่สัมพันธ์กับบริบททางสังคม ภูมิปัญญาและ
วัฒนธรรม
(4) ไม่ เน้น
(1) รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรม และศาสตรอื่นที่เกี่ยวข้อง
(2) เน้นให้มีความสามารถในการค้นคว้าแก้ปัญหา และพัฒนาทางด้านศิลปกรรม
ศาสตร์อย่างเป็นระบบ
(3) มีความรู้ในทางศิลปะที่สัมพันธ์กับบริบททางสังคม ภูมิปัญญาและ
วัฒนธรรม
(4) ไม่ เน้น
2) กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านความรู้
ใช้การเรียนการสอนหลากหลายรูปแบบ โดยเน้นหลักการทางทฤษฎี และ
การประยุกต์ใช้ในการปฎิบัติงาน โดยทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี ทั้งนี้ให้เป็นไปตามลักษณะของ
รายวิชาตลอดจนเนื้อหาสาระของรายวิชานั้น ๆ นอกจากนี้อาจจัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริงโดย
การศึกษาดูงานหรือเชิญผู้เชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์ตรงมาเป็นวิทยากรพิเศษเฉพาะเรื่อง ตลอดจนการฝึก
ประสบการณ์หรือฝึกปฏิบัติงานในสถานประกอบการ
ใช้การเรียนการสอนหลากหลายรูปแบบ โดยเน้นหลักการทางทฤษฎี และ
การประยุกต์ใช้ในการปฎิบัติงาน โดยทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี ทั้งนี้ให้เป็นไปตามลักษณะของ
รายวิชาตลอดจนเนื้อหาสาระของรายวิชานั้น ๆ นอกจากนี้อาจจัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริงโดย
การศึกษาดูงานหรือเชิญผู้เชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์ตรงมาเป็นวิทยากรพิเศษเฉพาะเรื่อง ตลอดจนการฝึก
ประสบการณ์หรือฝึกปฏิบัติงานในสถานประกอบการ
3) กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านความรู้
ประเมินจากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและผลการปฏิบัติงานของนักศึกษา
ในด้านต่าง ๆ คือ
(1) การทดสอบย่อย
(2) การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
(3) ประเมินจากรายงานที่นักศึกษาจัดทา
(4) ประเมินจากการนาเสนอรายงานในชั้นเรียน
(5) ประเมินจากผลงานที่ปฏิบัติ
(6) ประเมินจากแผนการดำเนินงานศิลปนิพนธ์ที่นาเสนอ
(7) ประเมินจากการฝึกประสบการณ์หรือฝึกปฏิบัติงานในสถานประกอบการ
ประเมินจากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและผลการปฏิบัติงานของนักศึกษา
ในด้านต่าง ๆ คือ
(1) การทดสอบย่อย
(2) การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
(3) ประเมินจากรายงานที่นักศึกษาจัดทา
(4) ประเมินจากการนาเสนอรายงานในชั้นเรียน
(5) ประเมินจากผลงานที่ปฏิบัติ
(6) ประเมินจากแผนการดำเนินงานศิลปนิพนธ์ที่นาเสนอ
(7) ประเมินจากการฝึกประสบการณ์หรือฝึกปฏิบัติงานในสถานประกอบการ
1) ผลการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา
(1) สามารถค้นคว้า รวบรวมและประเมินข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายอย่างมีวิจารณญาณ
(2) เน้นให้มีความสามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์และเสนอแนวทางแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์
(3)ไม่เน้น
(4) ไม่เน้น
(1) สามารถค้นคว้า รวบรวมและประเมินข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายอย่างมีวิจารณญาณ
(2) เน้นให้มีความสามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์และเสนอแนวทางแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์
(3)ไม่เน้น
(4) ไม่เน้น
2) กลยุทธ์การสอนที่ใช้ในการพัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา
ใช้กรณีศึกษา การจัดทำาโครงงาน หรือการจัดทาศิลปนิพนธ์ การ
มอบหมายงานให้นักศึกษาสืบค้นข้อมูลวิเคราะห์ สังเคราะห์และสรุปข้อมูล การนาเสนองาน โดยอภิปราย
เดี่ยวหรือกลุ่ม ร่วมแสดงความคิดเห็น
ใช้กรณีศึกษา การจัดทำาโครงงาน หรือการจัดทาศิลปนิพนธ์ การ
มอบหมายงานให้นักศึกษาสืบค้นข้อมูลวิเคราะห์ สังเคราะห์และสรุปข้อมูล การนาเสนองาน โดยอภิปราย
เดี่ยวหรือกลุ่ม ร่วมแสดงความคิดเห็น
3) กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา
ประเมินตามสภาพจริงจากผลงาน การปฏิบัติงานของนักศึกษา และการ
นำเสนองาน
ประเมินตามสภาพจริงจากผลงาน การปฏิบัติงานของนักศึกษา และการ
นำเสนองาน
1) ผลการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างตัวบุคคลและความรับผิดชอบ
(1) ไม่เน้น
(2) มีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง และสามารถทางานร่วมกับผู้อื่นอย่างมีประสิทธิภาพ
(3) เน้นให้สามารถแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล ตรงไปตรงมา และเคารพในความคิดเห็นที่แตกต่าง
(1) ไม่เน้น
(2) มีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง และสามารถทางานร่วมกับผู้อื่นอย่างมีประสิทธิภาพ
(3) เน้นให้สามารถแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล ตรงไปตรงมา และเคารพในความคิดเห็นที่แตกต่าง
2) กลยุทธ์การสอนที่ใช้ในการพัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
สอดแทรกเรื่องความสำคัญของการมีมนุษยสัมพันธ์ การมีมารยาททางสังคมมอบหมายงานหรือจัดกิจกรรมโดยหมุนเวียนกันทาหน้าที่ผู้นำและผู้ตาม การเคารพสิทธิและการยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น การประสานงานกับบุคคลภายนอก การแสดงความคิดเห็น และการวิพากษ์วิจารณ์งานของผู้อื่น
สอดแทรกเรื่องความสำคัญของการมีมนุษยสัมพันธ์ การมีมารยาททางสังคมมอบหมายงานหรือจัดกิจกรรมโดยหมุนเวียนกันทาหน้าที่ผู้นำและผู้ตาม การเคารพสิทธิและการยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น การประสานงานกับบุคคลภายนอก การแสดงความคิดเห็น และการวิพากษ์วิจารณ์งานของผู้อื่น
3) กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล
และความรับผิดชอบ
ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกในการนาเสนองาน และผลงาน
กลุ่มในชั้นเรียนและประเมินจากพฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่างๆ
และความรับผิดชอบ
ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกในการนาเสนองาน และผลงาน
กลุ่มในชั้นเรียนและประเมินจากพฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่างๆ
1) ผลการเรียนรู้ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
(1) สามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียนในการสื่อสารโดยทั่วไปตลอดจนใช้วิธีการสื่อสารทางศิลปกรรม และนำเสนองานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
(2) สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสร้างสรรค์ผลงานหรือการนำเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
(3) ไม่เน้น
(1) สามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียนในการสื่อสารโดยทั่วไปตลอดจนใช้วิธีการสื่อสารทางศิลปกรรม และนำเสนองานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
(2) สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสร้างสรรค์ผลงานหรือการนำเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
(3) ไม่เน้น
2) กลยุทธ์การสอนที่ใช้ในการพัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิง
ตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชา ให้นักศึกษาได้วิเคราะห์สถานการณ์จาลอง
และสถานการณ์เสมือนจริง แล้วนำเสนอการแก้ปัญหาที่เหมาะสม เรียนรู้เทคนิคการประยุกต์เทคโนโลยี
สารสนเทศ ให้นักศึกษาค้นคว้างานที่ต้องอาศัยการประมวลผล โดยการใช้ตัวเลขเพื่อการจัดการข้อมูล
การนำเสนอที่เหมาะสมกับสภาพของผู้สื่อสาร
ตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชา ให้นักศึกษาได้วิเคราะห์สถานการณ์จาลอง
และสถานการณ์เสมือนจริง แล้วนำเสนอการแก้ปัญหาที่เหมาะสม เรียนรู้เทคนิคการประยุกต์เทคโนโลยี
สารสนเทศ ให้นักศึกษาค้นคว้างานที่ต้องอาศัยการประมวลผล โดยการใช้ตัวเลขเพื่อการจัดการข้อมูล
การนำเสนอที่เหมาะสมกับสภาพของผู้สื่อสาร
3) กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การ
สื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ประเมินจากความถูกต้องในการใช้ข้อมูลและตัวเลข การเลือกใช้เครื่องมือ
ทางเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม ประเมินจากการอธิบาย การนำเสนอ
สื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ประเมินจากความถูกต้องในการใช้ข้อมูลและตัวเลข การเลือกใช้เครื่องมือ
ทางเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม ประเมินจากการอธิบาย การนำเสนอ
1) ให้มีการเรียนรู้ด้านทักษะพิสัยสามารถใช้ทักษะปฏิบัติทางศิลปกรรมศาสตร์ในการสร้างสรรค์ผลงานของตน
2) กลยุทธ์การสอนที่ใช้ในการพัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะพิสัย
ใช้วิธีการสอน ด้วยวิธีคัดลอกแบบ ทาตามแบบและใบงาน การใช้กรณีศึกษา
โครงงานและศิลปนิพนธ์ สร้างสรรค์ผลงานตามแนวทางของการปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง
ใช้วิธีการสอน ด้วยวิธีคัดลอกแบบ ทาตามแบบและใบงาน การใช้กรณีศึกษา
โครงงานและศิลปนิพนธ์ สร้างสรรค์ผลงานตามแนวทางของการปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง
3) กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะพิสัย
ประเมินตามสภาพจริงโดยประเมินจากการปฏิบัติงานและผลงาน
ประเมินตามสภาพจริงโดยประเมินจากการปฏิบัติงานและผลงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา | 1. คุณธรรม จริยธรรม | 2. ความรู้ | 3. ทักษะทางปัญญา | 4.ทักษะ ความสัมพันธ์ ระหว่างบุคคล และความ รับผิดชอบ | 5.ทักษะการ วิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการ ใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ | 6. ทักษะ พิสัย | ||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ลำดับ | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | (1) ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม | (2) มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น | (3) มีจิตอาสา จิตสานึกสาธารณะ | (1) รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรม และศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง | (2) มีความสามารถในการค้นคว้าแก้ปัญหา และพัฒนาทางด้านศิลปกรรม ศาสตร์อย่างเป็นระบบ | (3) มีความรู้ในทางศิลปะที่สัมพันธ์กับบริบททางสังคม ภูมิปัญญาและ วัฒนธรรม | (4) มีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานหรือธรรมเนียมปฏิบัติในการประกอบวิชาชีพ ด้านศิลปกรรมศาสตรในสาขาวิชาที่ศึกษา | (1) สามารถค้นคว้า รวบรวมและประเมินข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่ หลากหลายอย่างมีวิจารณญาน | (2) สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์และเสนอแนวทางแก้ปัญหาได้อย่าง สร้างสรรค์ | (3) สามารถบูรณาการความรู้กับศาสตร์อื่นเพื่อสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการ และวิชาชีพได้ | (4) มีความคิดสร้างสรรค์และมีปฏิภาณไหวพริบในการสร้างผลงาน | (1) มีภาวะผู้นาเข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเอง รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น และมนุษยสัมพันธ์ที่ดี | (2) มีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง และสามารถทางานร่วมกับผู้อื่นได้ อย่างมีประสิทธิภาพ | (3) สามารถแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล ตรงไปตรงมา และเคารพใน ความคิดเห็นที่แตกต่าง | (1) สามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียนในการสื่อสารโดยทั่วไป ตลอดจนใช้วิธีการสื่อสารทางศิลปกรรม และนาเสนองานได้อย่างมี ประสิทธิภาพ | 2) สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการ สร้างสรรค์ผลงานหรือการนาเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ | (3) มีความสามารถในการประยุกต์ใช้ความรู้เชิงตัวเลข หรือเทคโนโลยีที่ เหมาะสมสาหรับงานศิลปกรรม | สามารถใช้ทักษะปฏิบัติทางศิลปกรรมศาสตร์ในการสร้างสรรค์ผลงานของตน |
1 | BFAVA177 | วิเคราะห์ศิลปกรรมและสัมมนา |
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล 1 4 5 6 10-11 12-15 9 18 Paper 1 Paper 2 Paper 3 รูปเล่ม 1(4) การนำเสนอเป็นรายกลุ่ม รูปเล่ม 2(5) การนำเสนอเป็นรายบุคคล สอบกลางภาค สอบปลายภาค 5 6 7 12 16 10 18 5% 5% 10% 20% 30% 10% 10% 2 1-15 1-15 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10% | Paper 1 Paper 2 Paper 3 รูปเล่ม 1(4) การนำเสนอเป็นรายกลุ่ม รูปเล่ม 2(5) การนำเสนอเป็นรายบุคคล สอบกลางภาค สอบปลายภาค | สัปดาห์ที่ 14) การนำเสนอเป็นรายกลุ่ม สัมมนา ส่งรายงานรูปเล่ม 15) การนำเสนอเป็นรายบุคคล |
สุนพงษ์ศรี, สุนทรียศาสตร์ หลักปรัชญาศิลปะ ทฤษฎีทัศนศิลป์ ศิลปวิจารณ์. พิมพ์ครั้งที่ 1 กรุงเทพฯ:จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, พ.ศ.2557. เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์, การคิดเชิงวิเคราะห์. พิมพ์ครั้งที่ 6 กรุงเทพฯ:สำนักพิมพ์ ซัคเซส มีเดีย บจก., พ.ศ.2553. จิระพัฒน์ พิตรปรีชา, โลกศิลปะศตวรรษที่ 20 .พิมพ์ครั้งแรก. กรุงเทพฯ:เมืองโบราณ,พ.ศ.2545 จักรพันธ์ วิลาสินีกุล และสายัณห์ แดงกลม, การวิจารณ์ทัศนศิลป์ ข้อคิดของนักวิชาการไทย.พิมพ์ครั้งแรก. กรุงเทพฯ:สำนักพิมพ์ชมนาด,พ.ศ.2549 ชะลูด นิ่มเสมอ ,องค์ประกอบของศิลปะ.กรุงเทพฯ.พิมพ์ครั้งที่5 :บริษัทโรงพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช จำกัด ,พ.ศ.2542 เดวิด คอตติงตัน ,ศิลปะสมัยใหม่:ความรู้ฉบับพกพา. พิมพ์ครั้งที่1. กรุงเทพฯ :สำนักพิมพ์ openworlds ,พ.ศ.2554 รื่นฤทัย สัจจพันธุ์และคณะ, ทฤษฎีกับการวิจารณ์ศิลปะ ทัศนะของนักวิชาการไทย.พิมพ์ครั้งแรก. กรุงเทพฯ:สำนักพิมพ์: นาคร,พ.ศ.2560 สุธี คุณาวิชยานนท์ ,“จากสยามเก่าสู่ไทยใหม่” ว่าด้วยความพลิกผันของศิลปะ จากประเพณี สู่สมัยใหม่และร่วมสมัย .พิมพ์ครั้งแรก. บริษัท อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จำกัด (มหาชน),พ.ศ.2545 ศุภชัย อารีรุ่งเรือง,ทวิวัจน์แห่งการวิจารณ์ทัศนศิลป์ (ภาค ๑).กรุงเทพฯ.พิมพ์ครั้งที่1 :โครงการวิจัยเครือข่ายการวิจารณ์ศิลปะ: การวิจัยและพัฒนา,พ.ศ.2560 Charles Wentinck. MASTERPIECES OF ART 450 Treasures of Europe. New York: The Netherlands at Royal Smeets Offset bv. Weert. , 1974 Claire Waite brown. The Sculpting Techniques Bible. Chartwell Book, inc ; New York., 2006. George M. Beylerian and Andrew Dent. Material Connection: The Global Resource of New and Innovative Materials for Aristech, Artists and Designers. First published in the United Kingdom; Thames & Hudson,Ltd., 2005. Louis Slobodkin. Sculpture Principles and Practice. Dover Publications, inc. New York,1973 Mamfred Schneckenburger and The Other ,ART OF THE 20th CENTURY 1-2.Original Edition 1988 TESCHEN Paul Zelanski and Mary Pat Fisher, THE ART OF SEEING. Edition First published 1988 By Prentice-Hall, Inc., Englewood Cliffs, New Jerssy Oliver Andrews. LIVING MATERRIALS: A Sculptor’s Handbook. First Paperback printing in the United States of America; University of California Press., 1988.
เอกสาร แบบอย่างวิธีการวิเคราะห์กระบวนการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะในลักษณะต่างๆ
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เช่น Wikipedia คำอธิบายศัพท์
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษาสามรถปรึกษาอาจารย์
ได้ทุกเวลา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้ 2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน 2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา 2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมความคิด และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้ 3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน 3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้ 4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร 4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้ 5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก3ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรือจากการแสดงนิทรรศการศิลปกรรมต่าง ๆ