ระบบปฏิบัติการ
Operating Systems
1. เพื่อให้มีความรู้ในหลักการทางระบบปฏิบัติการ
2. เพื่อให้เข้าใจหลักการทํางานของระบบปฏิบัติการร์และโครงสร้างระบบปฏิบัติการ
3 เพื่อให้มีความรู้และเข้าใจหลักการทํางานของส่วนต่างๆของระบบปฏิบัติการ
4. เพื่อเรียนรู้และเข้าใจพัฒนาการของระบบปฏิบัติการแบบต่างๆ
5. เพื่อให้เข้าใจในเรืองโครงสร้างของระบบจัดการของระบบปฏิบัติการ
เพื่อให้ผู้เรียนได้รับความรู้ ความเข้าใจ ประสบการณ์ ในหลักการทางด้านสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ พื้นฐาน ซึงจะเป็นส่วนหนึ่งในการศึกษาวิชาของ ระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์
ศึกษา และฝึกปฏิบัติ การเรียนเกี่ยวกับกบปปฏิบัติการของคอมพิวเตอร์ ชนิดของระบบปฏิบัติการของคอมพิวเตอร์ การแบ่งปันทรัพยากร การจัดการหน่วยประมวลผล การจัดการโปรเซสเซอร์และเฟด การจัดการหน่วยความจำ การจัดการอุปกรณ์ การแบ่งความจำและชุดคำสั่งเป็นส่วน และเป็นหน้า หน่วยความจำเสมือน ท่านป้อนราพณ์จับตลาดการประเมินผลการทำงาน ปัญหาการติดตายการป้องกันแหล่งทรัพยากร ความมั่นคงและปลอดภัยของทรัพยากร การศึกษาตัวอย่างเป็นรายๆ
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 2 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
1. ด้านคุณธรรม จริยธรรม
1.1 ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต
1.2 มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
1.3 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ
1.4 เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1.5 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
1.6 สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการใช้คอมพิวเตอร์ต่อบุคคลองค์กรและสังคม
1.7 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
1.1 ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต
1.2 มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
1.3 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ
1.4 เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1.5 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
1.6 สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการใช้คอมพิวเตอร์ต่อบุคคลองค์กรและสังคม
1.7 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
1. บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษาเกี่ยวกับประเด็นทางจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับการใช้งานคอมพิวเตอร์ เช่น การไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ทางปัญญา
2. การจัดทำรายงานในด้านเทคโนโลยีด้านคอมพิวเตอร์ที่เกี่ยวข้องกับรายวิชา
3. อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในชั้นเรียน ร่วมกันทำงานกลุ่มและนำเสนอรายงานเพื่อฝึกการมีส่วนร่วมและเคารพสิทธิในการทำงานร่วมกัน
1. พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
2. มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
3. ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
2. ด้านความรู้
2.1 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ
2.2 สามารถวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจและอธิบายความต้องการทางคอมพิวเตอร์ รวมทั้งประยุกต์ความรู้ ทักษะ และการใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ไขปัญหา
2.3 สามารถวิเคราะห์ ออกแบบ ติดตั้ง ปรับปรุงและ/หรือประเมินระบบองค์ประกอบต่าง ๆ ของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศให้ตรงตามข้อกำหนด
2.4 สามารถติดตามความก้าวหน้าและวิวัฒนาการคอมพิวเตอร์ รวมทั้งการนำไปประยุกต์
2.5 รู้ เข้าใจและสนใจพัฒนาความรู้ ความชำนาญทางคอมพิวเตอร์อย่างต่อเนื่อง
2.6 มีความรู้ในแนวกว้างของสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเล็งเห็นการเปลี่ยนแปลง และเข้าใจผลกระทบของเทคโนโลยีใหม่ๆ
2.7 มีประสบการณ์ในการพัฒนาและ/หรือการประยุกต์ซอฟต์แวร์ที่ใช้งานได้จริง
2.8 สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศกับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
1. บรรยาย
2. อภิปราย
3. การทำงานกลุ่ม
4. การนำเสนอรายงาน
5. มอบหมายให้ค้นคว้าหาบทความ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง โดยนำมาสรุปและนำเสนอ
2. อภิปราย
3. การทำงานกลุ่ม
4. การนำเสนอรายงาน
5. มอบหมายให้ค้นคว้าหาบทความ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง โดยนำมาสรุปและนำเสนอ
1. ทดสอบย่อย สอบกลางภาค และสอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้น การวัดหลักการ การวิเคราะห์ และการประยุกต์ใช้ทฤษฎี
2. อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในชั้นเรียน และบทสรุปประเด็นสำคัญที่เรียนรู้
รายงานเดี่ยว/กลุ่ม โดยนำเสนอเทคโนโลยีด้านคอมพิวเตอร์จากการอ่านและการค้นคว้าข้อมูลที่เกี่ยวข้อง
2. อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในชั้นเรียน และบทสรุปประเด็นสำคัญที่เรียนรู้
รายงานเดี่ยว/กลุ่ม โดยนำเสนอเทคโนโลยีด้านคอมพิวเตอร์จากการอ่านและการค้นคว้าข้อมูลที่เกี่ยวข้อง
3. ด้านทักษาะทางปัญญา
3.1 คิดอย่างมีวิจารณญาณและอย่างเป็นระบบ
3.2สามารถสืบค้น ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการแก้ไขปัญหาอย่างสร้างสรรค์
3.3 สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ
3.4 สามารถประยุกต์ความรู้และทักษะกับการแก้ไขปัญหาทางคอมพิวเตอร์ได้อย่างเหมาะสม
3.1 คิดอย่างมีวิจารณญาณและอย่างเป็นระบบ
3.2สามารถสืบค้น ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการแก้ไขปัญหาอย่างสร้างสรรค์
3.3 สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ
3.4 สามารถประยุกต์ความรู้และทักษะกับการแก้ไขปัญหาทางคอมพิวเตอร์ได้อย่างเหมาะสม
1. บรรยายพร้อมยกตัวอย่างจากสื่อประกอบ
2. การมอบหมายให้นักศึกษาทำรายงานพิเศษ และนำเสนอหน้าชั้นเรียน
3. อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในชั้นเรียน และแสดงความคิดเห็นผ่านกระดานสนทนา
2. การมอบหมายให้นักศึกษาทำรายงานพิเศษ และนำเสนอหน้าชั้นเรียน
3. อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในชั้นเรียน และแสดงความคิดเห็นผ่านกระดานสนทนา
1. สอบกลางภาค และปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์แนวคิดในการประยุกต์ใช้ความรู้ในการแก้ปัญหา
2. การรายงานและนำเสนอรายงานหน้าชั้นเรียน
1 สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนหลากหลายและสามารถสนทนาทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศอย่างมีประสิทธิภาพ
2 สามารถให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกแก่การแก้ปัญหาสถานการณ์ต่าง ๆ ในกลุ่มทั้งในบทบาทของผู้นำ หรือในบทบาทของผู้ร่วมทีมทำงาน
3 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาชี้นำสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
4 มีความรับผิดชอบในการกระทำของตนเองและรับผิดชอบงานในกลุ่ม
5 สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวม พร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่ม
6 มีความรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
1. มอบหมายงานรายกลุ่ม และรายบุคคล
2. อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในชั้นเรียน และแสดงความคิดเห็นผ่านกระดานสนทนา
1. รายงานที่นำเสนอ พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
2. การนำเสนอรายงานหน้าชั้นเรียน และอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในชั้นเรียน และแสดงความคิดเห็นผ่านกระดานสนทนา
1 มีทักษะในการใช้เครื่องมือที่จำเป็นที่มีอยู่ในปัจจุบันต่อการทำงานที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
2 สามารถแนะนำประเด็นการแก้ไขปัญหาโดยใช้สารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือการแสดงสถิติ ประยุกต์ต่อปัญหาที่เกี่ยวข้องอย่างสร้างสรรค์
3 สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งปากเปล่าและการเขียน เลือกใช้รูปแบบของสื่อการนำเสนออย่างเหมาะสม
4 สามารถใช้สารสนเทศและเทคโนโลยีสื่อสารอย่างเหมาะสม
1. มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จาก website สื่อการสอน e-learning และทำรายงาน โดยมีการอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ มีการตรวจสอบข้อมูลต่างๆ เปรียบเทียบแหล่งที่มาของข้อมูล
2. นำเสนอโดยใช้รูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
1. การจัดทำ และนำเสนอรายงานด้วยสื่อเทคโนโลยี
2. การมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปรายทั้งในชั้นเรียนและกระดานสนทนา
สามารถใช้เครื่องมือฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ทางคอมพิวเตอร์ได้อย่างถูกต้อง ปฏิบัติการเขียนโปรแกรมได้อย่างเป็นระบบ โดยตั้งอยู่บนพื้นฐานตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ ในการเรียนการสอนจึงต้องให้ความสำคัญเน้นไปที่การสร้างทักษะการปฏิบัติงานทางด้านการเขียนโปรแกรม ดังนี้
6.1.1 มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการได้อย่างมีประสิทธิภาพ (ผลการเรียนรู้ข้อ 6.1 )
6.1.2 มีทักษะในการปฏิบัติงานกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ และมีความร่วมมือกันเป็นอย่างดี (ผลการเรียนรู้ข้อ 6.2 )
6.1.1 มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการได้อย่างมีประสิทธิภาพ (ผลการเรียนรู้ข้อ 6.1 )
6.1.2 มีทักษะในการปฏิบัติงานกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ และมีความร่วมมือกันเป็นอย่างดี (ผลการเรียนรู้ข้อ 6.2 )
จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชาต่างๆ ให้นักศึกษาได้ลงมือปฏิบัติจริง โดยใช้ความรู้จากวิชาต่างๆ ที่เรียนมา การวิเคราะห์เพื่อแก้ปัญหา เพื่อให้เกิดการพัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะพิสัย ดังข้อต่อไปนี้
1 สร้างทักษะในการปฏิบัติงาน
2 สาธิตการปฏิบัติการการเขียนและการรันโปรแกรม
3 ให้ความสำคัญต่อการปฏิบัติงานอย่างเป็นระบบและมีความประณีต
4 นำเสนอโดยใช้รูปแบบโจทย์ปัญหาและเทคโนโลยีที่เหมาะสม เพื่อกระตุ้นให้นักศึกษาเกิดความคิดสร้างสรรค์ และลงมือเขียนโปรแกรมด้วยใจ
5 อาจารย์ปฏิบัติตนเป็นตัวอย่างที่ดีในการเขียนโปรแกรมและดูแลฝึกทักษะตลอดเวลา
1 มีการประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติงาน
2 มีการใช้งานวิจัยของอาจารย์ประกอบการเรียนการสอน
3 มีการประเมินผลการทำงานในภาคปฏิบัติ
4 มีการประเมินโครงงานของนักศึกษา
5 มีการให้คะแนนผลการปฏิบัติงานเขียนโปรแกรมในด้านต่างๆ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา | 1. คุณธรรม จริยธรรม | 2.ด้านความรู้ | 3. ทักษะด้านปัญญา | 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ | 6. ทักษะพิสัย | ||||||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ลำดับ | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 1 | 2 | 3 | 4 | 1 | 2 | 3 | 4 | 1 | 2 |
1 | ENGCE125 | ระบบปฏิบัติการ |
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | 2.1.1 - 2.1.5, 3.1.1 - 3.1.5, 2.1.1 - 2.1.5, 3.1.1 - 3.1.5 | สอบกลางภาค (ทฤษฎี), สอบกลางภาค (ปฏิบัติ), สอบปลายภาค (ทฤษฎี), สอบปลายภาค (ปฏิบัติ) | 9, 9, 17, 17 | 20%, 10%, 20%, 10% |
2 | 3.1.1 - 3.1.5, 4.1.1 - 4.1.5, 5.1.1 - 5.1.5, 6.1.1 - 6.1.2 | การส่งแบบฝึกหัดในห้องเรียนทฤษฎี, การส่งงานตามที่มอบหมาย, การรันโปรแกรมผ่านทุกขั้นตอนของใบงาน | ตลอดภาคการศึกษา | 7.5%, 7.5%, 5%, 5% |
3 | 1.1.1 - 1.1.5, 3.1.1 - 3.1.5 | การเข้าชั้นเรียน, การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน | ตลอดภาคการศึกษา | 15% |
Understanding Operating Systems, Eighth Edition, Ann McIver McHoes Ida M. Flynn, Cengage Learning, 2018
Understanding Operating Systems, Eighth Edition, Ann McIver McHoes Ida M. Flynn, Cengage Learning, 2018
Computer System A Programmer' Perspective , Third Edition, Randal E. Bryant • David R. O’Hallaron, PEARSON, ISBN 978-0-13-409266-9, 2016
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้ 1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน 1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา 1.3 ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้ 2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน 2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา 2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้ 3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน 3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้ 4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร 4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอน และรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้ ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4