อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและการบริการ

Tourism and Hospitality Industry

ความหมาย ความสำคัญ วิวัฒนาการ ประโยชน์ และองค์ประกอบของธุรกิจในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและบริการ ทรัพยากรการท่องเที่ยว บทบาทหน้าที่และนโยบายของภาครัฐและเอกชนที่เกี่ยวกับอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและการบริการ ผลกระทบของอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและบริการในประเทศและต่างประเทศ การจัดการความปลอดภัยในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว อนาคตทิศทางและแนวโน้มของอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและบริการในยุคโลกาภิวัตน์
เพื่อให้นักศึกษาได้รับ ทักษะใหม่ๆที่ทันต่อยุคสมัยที่มีการเปลี่ยนแปลงรวดเร็ว และสามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้เป็นพื้นฐานในการศึกษารายวิชาอื่นๆที่เกี่ยวข้อง สามารถนำไปใช้ในการปฏิบัติงานในสถานการณ์จริงได้อย่างถูกต้อง
ความหมาย ความสำคัญ วิวัฒนาการ ประโยชน์ และองค์ประกอบของอุตสาหกรรม การท่องเที่ยวและบริการ ทรัพยากรการท่องเที่ยว และมรดกโลกในประเทศไทย สภาพและปัจจัยทางภูมิศาสตร์ที่ส่งเสริมการท่องเที่ยวของแหล่งท่องเที่ยวในประเทศไทย และแรงจูงใจทางการท่องเที่ยว ผลกระทบของการท่องเที่ยว หน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับนโยบายและบทบาทของภาครัฐและเอกชน แนวโน้มและทิศทางของอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและบริการในอนาคต
อาจารย์ประจำรายวิชาประกาศให้คำปรึกษาผ่านระบบออนไลน์ 
อาจารย์ประจำวิชาจัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือ รายกลุ่มตามความต้องการของนักศึกษา 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะกรณี)
1.1 คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา  1. มีความซื่อสัตย์ สุจริต และสามารถจัดการปัญหาด้านจริยธรรม และความขัดแย้งระหว่างผลประโยชน์ที่ได้รับกับจริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ  2. มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพ และแสดงออกซึ่งคุณธรรมและจริยธรรมในการ ปฏิบัติงาน และการปฏิบัติตนต่อผู้อื่นอย่างสม่ำเสมอ  3. มีความรับผิดชอบในหน้าที่ เป็นสมาชิกที่ดี และมีส่วนร่วมในกิจกรรมเพื่อ   การพัฒนาเป็นแบบอย่างที่ดีต่อผู้อื่น และมีภาวะผู้นำ  4. มีวินัย มีความตรงต่อเวลา ปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับขององค์กรและสังคม
- สอนคุณธรรม จริยธรรมแทรกบทเรียน
- สอนโดยใช้กรณีศึกษา อภิปรายร่วมกัน
- สอนโดยการอ้างอิงหลักจริยธรรมและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับรายวิชา
1) ทดสอบโดยการสอบข้อเขียนกลางภาคและปลายภาค 2) ประเมินผลจากการทำงานที่ได้รับมอบหมายและรายงาน 3) ประเมินจากรายงานที่ให้ค้นคว้า
1) มีความรู้ในสาขาวิชาการท่องเที่ยวและการโรงแรม ทั้งภาคทฤษฎีและ ภาคปฏิบัติอย่างกว้างขวาง เป็นระบบ เป็นสากล และทันสมัยต่อสถานการณ์โลก 2) มีความรู้ที่เกิดจากการบูรณาการความรู้ในศาสตร์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง 3) มีความรู้ในกระบวนการ และเทคนิคการวิจัยเพื่อแก้ไขปัญหาและต่อยอดองค์ความรู้ในงานอาชีพ
1)  การบรรยายภายในชั้นเรียน และการถาม-ตอบ 2)  มอบหัวข้อเรื่องให้ค้นคว้าและทำรายงานทั้งเดี่ยวและกลุ่ม 3) อภิปรายเป็นกลุ่ม โดยให้ผู้สอนตั้งคำถามตามระบบการสอนยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
1) ทดสอบโดยการสอบข้อเขียนกลางภาคและปลายภาค 2) ประเมินผลจากการทำงานที่ได้รับมอบหมายและรายงาน 3) ประเมินจากรายงานที่ให้ค้นคว้า
1. มีความสามารถประมวล และศึกษาข้อมูลเพื่อวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา ข้อโต้แย้ง และสังเคราะห์ได้อย่างถูกต้องตามหลักการ และตามขั้นตอนเชิงวิทยาศาสตร์ รวมทั้งหาแนวทางป้องกันและแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสมทั้งเชิงกว้างและเชิงลึก 2. สามารถสาธิต ทักษะในการแก้ปัญหาที่ใช้เหตุผลเชิงวิเคราะห์ให้ผู้อื่นเข้าใจได้ 3. มีความสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ภาคทฤษฎี ภาคปฏิบัติ ไปสู่การฝึกประสบการณ์ภาคสนาม และการปฏิบัติงานจริงตามสถานการณ์ได้อย่างเหมาะสม
-การอภิปรายเป็นกลุ่ม -การทำงานที่ได้รับมอบหมายให้ค้นคว้าหรืองานเกี่ยวกับการพัฒนาเป็นทีม
ประเมินผลจากผลงานที่มอบหมายให้ทำ  
1. มีความสามารถในการปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนในกลุ่มงานได้อย่างเหมาะสม รวมทั้งมีส่วนร่วมในการช่วยเหลือผู้ร่วมงานและแก้ไขปัญหากลุ่ม   2. สามารถพัฒนาตนเอง และพัฒนาวิชาชีพให้ทันสมัยอย่างต่อเนื่อง และตรงตามมาตรฐานสากล
-มอบหมายงานเป็นกลุ่มย่อย และแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ โดยหมุนเวียนกันในกลุ่ม -สอนโดยใช้กรณีศึกษา
-ประเมินจากผลงานของกลุ่มและผลงานของผู้เรียนในกลุ่มที่ได้รับมอบหมายให้ทำงาน -ประเมินตนเอง และประเมินซึ่งกันและกัน (peer) -สังเกตพฤติกรรมในการเรียน
1. ฝึกให้นำเสนอผลงานที่ค้นคว้าด้วยตนเองในห้องเรียน 2. บูรณาการการใช้คอมพิวเตอร์ เครือข่าย และซอฟต์แวร์หรือสื่อต่าง ๆ ในทุกรายวิชาที่สามารถทำได้
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
ไม่มีข้อมูล