การเขียนเชิงสร้างสรรค์
Creative Writing
อธิบายลักษณะเฉพาะของรูปแบบและวัตถุประสงค์งานเขียนเชิงสร้างสรรค์ประเภทต่าง ๆ เช่น เรื่องแต่ง บทกวี สารคดี และการเล่าเรื่องเชิงดิจิทัล พร้อมทั้งวิเคราะห์จุดเด่นและวัตถุประสงค์ของแต่ละรูปแบบได้
(Identify and describe the characteristics and purposes of different creative writing genres, such as fiction, poetry, non-fiction, and digital storytelling.)
ฝึกปฏิบัติการเขียนเชิงสร้างสรรค์ในแต่ละประเภท (เรื่องแต่ง, บทกวี, สารคดี, การเล่าเรื่องเชิงดิจิทัล) เพื่อแสดงให้เห็นถึงความเข้าใจในจุดเด่นและลักษณะเฉพาะของแต่ละประเภท
(Engage in creative writing practice across various genres (fiction, poetry, non-fiction, digital storytelling) to demonstrate an understanding of their distinctive features and strengths.)
เลือกใช้ความรู้ด้านคำศัพท์ โครงสร้างภาษา และสำนวนภาษาอังกฤษ เพื่อเขียนงานเชิงสร้างสรรค์ให้เหมาะสมกับวัตถุประสงค์และกลุ่มเป้าหมาย
(Use vocabulary, sentence structures, and expressions appropriately to suit specific purposes and audiences.)
สร้างผลงานเขียนต้นฉบับโดยใช้จินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ ผ่านการทดลองใช้เสียงผู้เล่า มุมมอง และโทนเสียงที่หลากหลาย
(Produce original written works using imagination and creativity, while experimenting with various narrative voices, points of view, and tones.)
ประเมินและปรับปรุงงานเขียนของตนเองและของผู้อื่น โดยใช้หลักการวิจารณ์เชิงสร้างสรรค์และการสะท้อนตน เพื่อพัฒนาผลงานให้มีคุณภาพยิ่งขึ้น
(Evaluate and revise one’s own and peers’ writing using constructive critique and self-reflection to improve writing quality.)
Formats and styles of creative writing, strategies to produce creative writing; and practice of writing by using idea and imagination
รูปแบบงานเขียนเชิงสร้างสรรค์ประเภทต่าง ๆ กลยุทธ์ในการเขียนเชิงสร้างสรรค์และฝึกการเขียนโดยใช้ความคิดและจินตนาการ ตลอดจนกลยุทธ์ในการเขียนเชิงสร้างสรรค์ เน้นสร้างงานเขียนเชิงสร้างสรรค์
รูปแบบงานเขียนเชิงสร้างสรรค์ประเภทต่าง ๆ กลยุทธ์ในการเขียนเชิงสร้างสรรค์และฝึกการเขียนโดยใช้ความคิดและจินตนาการ ตลอดจนกลยุทธ์ในการเขียนเชิงสร้างสรรค์ เน้นสร้างงานเขียนเชิงสร้างสรรค์
3 ชม./ สัปดาห์
คุณธรรมจริยธรรม
(2) มีวินัย ตรงต่อเวลา และปฏิบัติตามวัฒนธรรมองค์กรที่ดี
(2) มีวินัย ตรงต่อเวลา และปฏิบัติตามวัฒนธรรมองค์กรที่ดี
(1) สอดแทรกหลักจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพในเนื้อหารายวิชา
(2) จัดกิจกรรมในรายวิชาเพื่อส่งเสริมให้นักศึกษามีจิตสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
(3) สร้างวัฒนธรรมองค์กรโดยมีผู้สอนเป็นแบบอย่างที่ดี เพื่อปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย ตรงต่อเวลา มีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม มีจรรยาวิชาการและวิชาชีพ
(4) ส่งเสริมให้นักศึกษาเข้าร่วมกิจกรรมต่าง ๆ ทั้งภายในมหาวิทยาลัยและชุมชน เพื่อเรียนรู้หน้าที่ของการเป็นผู้นำและการเป็นสมาชิกของกลุ่ม เคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
(2) จัดกิจกรรมในรายวิชาเพื่อส่งเสริมให้นักศึกษามีจิตสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
(3) สร้างวัฒนธรรมองค์กรโดยมีผู้สอนเป็นแบบอย่างที่ดี เพื่อปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย ตรงต่อเวลา มีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม มีจรรยาวิชาการและวิชาชีพ
(4) ส่งเสริมให้นักศึกษาเข้าร่วมกิจกรรมต่าง ๆ ทั้งภายในมหาวิทยาลัยและชุมชน เพื่อเรียนรู้หน้าที่ของการเป็นผู้นำและการเป็นสมาชิกของกลุ่ม เคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
(1) การสังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมในรายวิชาที่ส่งเสริมให้นักศึกษามีจิตสาธารณะ และตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
(2) บันทึกและติดตามการตรงต่อเวลาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมาย และการเข้าร่วมกิจกรรม
(3) การประเมินตนเอง และการประเมินโดยเพื่อนร่วมชั้นเรียน
(4) ประเมินผลงานโดยตรวจสอบการคัดลอกผลงานการเขียนทางวิชาการ
(2) บันทึกและติดตามการตรงต่อเวลาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมาย และการเข้าร่วมกิจกรรม
(3) การประเมินตนเอง และการประเมินโดยเพื่อนร่วมชั้นเรียน
(4) ประเมินผลงานโดยตรวจสอบการคัดลอกผลงานการเขียนทางวิชาการ
(3) เปรียบเทียบการใช้ภาษาอังกฤษในวัฒนธรรมที่หลากหลายได้
(6) ตีความ วิเคราะห์ วิจารณ์ และแสดงความคิดเห็นด้านภาษาและวัฒนธรรมอย่างสร้างสรรค์
(7) ประเมินความเหมาะสมของการใช้วัจนภาษา และอวัจนภาษาเพื่อสื่อสารในบริบทวัฒนธรรมข้ามชาติได้
(6) ตีความ วิเคราะห์ วิจารณ์ และแสดงความคิดเห็นด้านภาษาและวัฒนธรรมอย่างสร้างสรรค์
(7) ประเมินความเหมาะสมของการใช้วัจนภาษา และอวัจนภาษาเพื่อสื่อสารในบริบทวัฒนธรรมข้ามชาติได้
(1) จัดรูปแบบการเรียนการสอนที่หลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญตามลักษณะของรายวิชา และเนื้อหาสาระของรายวิชานั้น ๆ
(2) จัดกิจกรรมให้นักศึกษาได้ประยุกต์ใช้ความรู้ในการฝึกปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริงและสถานการณ์จำลอง
(3) จัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริง โดยการศึกษาดูงาน หรือการเชิญผู้เชี่ยวชาญมาเป็นวิทยากรให้ความรู้
(4) มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม นำเสนอ และถ่ายทอดความรู้แก่เพื่อนร่วมชั้นเรียนหรือผู้สนใจทั่วไป
(5) ศึกษาเรียนรู้เพิ่มเติมด้วยตนเองโดยใช้เทคโนโลยีเพื่อการค้นคว้า หาความรู้ และการเรียนรู้ออนไลน์ในรูปแบบต่างๆ
(6) สนับสนุนให้นักศึกษาเข้าร่วมกิจกรรมการแข่งขันด้านทักษะและความสามารถภาษาอังกฤษ ตลอดจนกิจกรรมการแลกเปลี่ยนนักศึกษานานาชาติ
(2) จัดกิจกรรมให้นักศึกษาได้ประยุกต์ใช้ความรู้ในการฝึกปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริงและสถานการณ์จำลอง
(3) จัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริง โดยการศึกษาดูงาน หรือการเชิญผู้เชี่ยวชาญมาเป็นวิทยากรให้ความรู้
(4) มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม นำเสนอ และถ่ายทอดความรู้แก่เพื่อนร่วมชั้นเรียนหรือผู้สนใจทั่วไป
(5) ศึกษาเรียนรู้เพิ่มเติมด้วยตนเองโดยใช้เทคโนโลยีเพื่อการค้นคว้า หาความรู้ และการเรียนรู้ออนไลน์ในรูปแบบต่างๆ
(6) สนับสนุนให้นักศึกษาเข้าร่วมกิจกรรมการแข่งขันด้านทักษะและความสามารถภาษาอังกฤษ ตลอดจนกิจกรรมการแลกเปลี่ยนนักศึกษานานาชาติ
(1) สอบกลางภาคและปลายภาค โดยใช้การสอบข้อเขียน และการสอบปากเปล่า
(2) ทดสอบย่อยและการสอบปฏิบัติตามจุดประสงค์การเรียนรู้ในรายวิชา
(3) การนำเสนอผลงานและการเขียนรายงานรายบุคคล รายคู่ และรายกลุ่ม
(4) การสังเกตจากการอภิปรายกลุ่มและแสดงความคิดเห็น
(2) ทดสอบย่อยและการสอบปฏิบัติตามจุดประสงค์การเรียนรู้ในรายวิชา
(3) การนำเสนอผลงานและการเขียนรายงานรายบุคคล รายคู่ และรายกลุ่ม
(4) การสังเกตจากการอภิปรายกลุ่มและแสดงความคิดเห็น
(3) มีทักษะในการประยุกต์ใช้ภาษามาวิเคราะห์ วิจารณ์อย่างมีเหตุผล และสามารถแก้ปัญหาอย่างมีระบบ
(1) จัดกิจกรรมให้นักศึกษาได้ฝึกปฏิบัติผ่านทางบทบาทสมมุติในสถานการณ์จำลอง
(2) การระดมสมองและอภิปรายโต้แย้งในหัวข้อที่กำหนด
(3) จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชาตามแนว Constructivism (การสร้างความรู้ด้วยตนเอง) เช่น การเรียนรู้แบบเน้นภาระงาน (Task-based learning) การเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem-based learning) การเรียนรู้โดยโครงการเป็นฐาน (Project-based learning) และกระบวนการคิดเชิงออกแบบ (Design thinking)
(4) จัดให้นักศึกษาได้ฝึกประสบการณ์ในสถานประกอบการตามหลักบูรณาการการเรียนการสอนกับการทำงาน
(2) การระดมสมองและอภิปรายโต้แย้งในหัวข้อที่กำหนด
(3) จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชาตามแนว Constructivism (การสร้างความรู้ด้วยตนเอง) เช่น การเรียนรู้แบบเน้นภาระงาน (Task-based learning) การเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem-based learning) การเรียนรู้โดยโครงการเป็นฐาน (Project-based learning) และกระบวนการคิดเชิงออกแบบ (Design thinking)
(4) จัดให้นักศึกษาได้ฝึกประสบการณ์ในสถานประกอบการตามหลักบูรณาการการเรียนการสอนกับการทำงาน
(1) ประเมินตามสภาพจริงจากผลงานและผลการปฏิบัติของนักศึกษา
(2) ประเมินและติดตามกระบวนการปฏิบัติงาน
(3) จัดการสัมมนา การอภิปรายกลุ่มและแสดงความคิดเห็น
(4) การประเมินตนเอง และการประเมินโดยเพื่อนร่วมชั้นเรียน
(5) การประเมินตนเองโดยการสะท้อนคิดของผู้เรียน เพื่อนร่วมชั้นเรียนหรือคณาจารย์
(2) ประเมินและติดตามกระบวนการปฏิบัติงาน
(3) จัดการสัมมนา การอภิปรายกลุ่มและแสดงความคิดเห็น
(4) การประเมินตนเอง และการประเมินโดยเพื่อนร่วมชั้นเรียน
(5) การประเมินตนเองโดยการสะท้อนคิดของผู้เรียน เพื่อนร่วมชั้นเรียนหรือคณาจารย์
.
(2) นำเสนอข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ
(4) ใช้ภาษาอังกฤษ ภาษาไทย และภาษาต่างประเทศ ในการสื่อสารได้อย่างเหมาะสม ตามกาลเทศะของบริบทวัฒนธรรมข้ามชาติ และวัฒนธรรมนานาชาติ
(4) ใช้ภาษาอังกฤษ ภาษาไทย และภาษาต่างประเทศ ในการสื่อสารได้อย่างเหมาะสม ตามกาลเทศะของบริบทวัฒนธรรมข้ามชาติ และวัฒนธรรมนานาชาติ
1) สอดแทรกความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือในการติดต่อสื่อสารการค้นคว้าข้อมูล และการนำเสนอผลงาน
(2) มอบหมายงานให้นักศึกษาใช้เครื่องมือเทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้น ศึกษา รวบรวมแ วิเคราะห์และตรวจสอบข้อมูล ตลอดจนการนำเสนองานและการทำรายงาน
(3) ประยุกต์ใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อพัฒนากระบวนการเรียนรู้และทำงานด้านภาษาอังกฤษอย่างเหมาะสม
(4) แนะนำแหล่งเรียนรู้ออนไลน์และนอกห้องเรียนเพื่อเสริมทักษะภาษา ตัวเลข และเทคโนดลยีสารสนเทศ ตามความสนใจและความต้องการของนักศึกษา
(5) จัดการเรียนการสอน และกิจกรรมออนไลน์ในรูปแบบต่าง ๆ
(2) มอบหมายงานให้นักศึกษาใช้เครื่องมือเทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้น ศึกษา รวบรวมแ วิเคราะห์และตรวจสอบข้อมูล ตลอดจนการนำเสนองานและการทำรายงาน
(3) ประยุกต์ใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อพัฒนากระบวนการเรียนรู้และทำงานด้านภาษาอังกฤษอย่างเหมาะสม
(4) แนะนำแหล่งเรียนรู้ออนไลน์และนอกห้องเรียนเพื่อเสริมทักษะภาษา ตัวเลข และเทคโนดลยีสารสนเทศ ตามความสนใจและความต้องการของนักศึกษา
(5) จัดการเรียนการสอน และกิจกรรมออนไลน์ในรูปแบบต่าง ๆ
(1) การประเมินผลงาน รายงาน และการนำเสนองาน
(2) สอบย่อยตามวัตถุประสงค์ของรายวิชา
(3) กลางภาคและปลายภาค โดยใช้การสอบข้อเขียน และการสอบปากเปล่า
(4) มีเกณฑ์การประเมินผลการเรียนในรูปแบบการเรียนการสอนออนไลน์
(2) สอบย่อยตามวัตถุประสงค์ของรายวิชา
(3) กลางภาคและปลายภาค โดยใช้การสอบข้อเขียน และการสอบปากเปล่า
(4) มีเกณฑ์การประเมินผลการเรียนในรูปแบบการเรียนการสอนออนไลน์
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา | 1. คุณธรรม จริยธรรม | 2. ความรู้ | 3. ทักษะทางปัญญา | 4. ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลเเละความรับผิดชอบ | 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ | 6.ทักษะในการปฏิบัติงาน | ||||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ลำดับ | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | 1.1 มีทัศนคติที่ดี เคารพศักดิ์ศรีและคุณค่าความเป็นมนุษย์ | 1.2 มีวินัย ตรงต่อเวลา และปฏิบัติตามวัฒนธรรมองค์กรที่ดี | 1.3 มีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม | 1.4 มีจิตสาธารณะในการทำคุณประโยชน์ต่อผู้อื่นและสังคม | 2.1 จดจำ และออกเสียงภาษาอังกฤษและ/หรือภาษาต่างประเทศได้อย่างถูกต้อง | 2.2 วิเคราะห์โครงสร้างและความหมายของคำ วลี และประโยคได้ | 2.3 เปรียบเทียบการใช้ภาษาอังกฤษในวัฒนธรรมที่หลากหลายได้ | 2.4 แปลความภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทย และภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ | 2.5 สรุปใจความและประเด็นสำคัญจากสิ่งที่ฟังและอ่านได้ถูกต้อง | 2.6 ตีความ วิเคราะห์ วิจารณ์ และแสดงความคิดเห็นด้านภาษาและวัฒนธรรมอย่างสร้างสรรค์ | 2.7 ประเมินความเหมาะสมของการใช้วัจนภาษา และอวัจนภาษาเพื่อสื่อสารในบริบทวัฒนธรรมข้ามชาติได้ | 3.1 มีทักษะในการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางวิชาการและวิชาชีพ | 3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาประยุกต์และปรับเปลี่ยนตามวัฒนธรรมสากล | 3.3 มีทักษะในการประยุกต์ใช้ภาษามาวิเคราะห์ วิจารณ์อย่างมีเหตุผล และสามารถแก้ปัญหาอย่างมีระบบ | 4.1 มีความสามารถทำงานเป็นทีม มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม | 4.2 ประมวลทักษะและองค์ความรู้ด้านภาษาอังกฤษเพื่อนำมาใช้ในการทำงานของตนเองอย่างมีประสิทธิภาพ | 4.3 ใช้ภาษาเพื่อการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ และสร้างความสัมพันธ์ที่ดีในสังคมข้ามวัฒนธรรม | 5.1 วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ และคุณภาพ อย่างถูกต้อง | 5.2 นำเสนอข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ | 5.3 ประยุกต์ใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อพัฒนากระบวนการเรียนรู้และทำงานด้านภาษาอังกฤษอย่างเหมาะสม | 5.4 ใช้ภาษาอังกฤษ ภาษาไทย และภาษาต่างประเทศ ในการสื่อสารได้อย่างเหมาะสมตามกาลเทศะของบริบทวัฒนธรรมข้ามชาติ และวัฒนธรรมนานาชาติ | 6.1 ปรับตัวเข้าสู่สังคมการทำงานในบริบทข้ามวัฒนธรรมได้อย่างเหมาะสม | 6.2 ปฏิบัติงานโดยยึดจรรยาบรรณวิชาชีพ | 6.3 ประยุกต์ความรู้และประสบการณ์มาใช้ในการปฏิบัติงานในระดับสากล |
1 | BOAEC161 | การเขียนเชิงสร้างสรรค์ |
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | 1.2,2.3,2.6,2.7,3.3,5.2,5.4 | ชิ้นงานที่มอบหมาย Project1 + Project2 | 6 และ 16 | 20 |
2 | 2.3,2.6,2.7,3.3,5.2,5.4 | ชิ้นงานมอบหมาย เช่น งานเขียนเชิงสร้างสรรค์ประเภทต่างๆ และการนำเสนอผลงาน | ตลอดภาคการศึกษา | 30 |
3 | 2.3,2.6,2.7,3.3 | สอบกลางภาค | 8 | 20 |
4 | 2.3,2.6,2.7,3.3 | สอบปลายภาค | 17 | 20 |
5 | 1.2,5.2,5.4 | สังเกตุพฤติกรรมการเรียน | ตลอดภาคการศึกษา | 10 |
เอกสารประกอบการสอน วิชาการเขียนเชิงสร้างสรรค์
Morley, D. (2007). The Cambridge introduction to creative writing. Cambridge University Press.
Earnshaw, S. (Ed.). (2014). Handbook of Creative Writing. Edinburgh University Press.
Earnshaw, S. (Ed.). (2014). Handbook of Creative Writing. Edinburgh University Press.
Recommended Books
"The Elements of Style" by William Strunk Jr. and E.B. White
A classic guide to writing clear and concise prose, focusing on essential grammar and style principles. "Bird by Bird: Some Instructions on Writing and Life" by Anne Lamott
Offers practical advice on writing and the creative process, interspersed with humorous anecdotes. "Writing Down the Bones: Freeing the Writer Within" by Natalie Goldberg
A blend of writing exercises and philosophical insights that encourage writers to tap into their creativity. "The Writer's Journey: Mythic Structure for Writers" by Christopher Vogler
Explores the hero's journey and narrative structure, providing insights into storytelling techniques. "On Writing: A Memoir of the Craft" by Stephen King
Part memoir, part master class, this book offers practical advice and insights into the writing process from a prolific author. "The Art of Creative Writing" by L. Rust Hills
A comprehensive guide that covers various genres and provides exercises to inspire creative thinking. "The Poetry Home Repair Manual: Practical Advice for Beginning Poets" by Ted Kooser
Offers practical advice and insights specifically for poetry, making it accessible for beginners. "The Creative Writing Coursebook" edited by Julia Bell and Paul Magrs
A collection of exercises, advice, and insights from various authors that covers a wide range of creative writing topics. "The Craft of Poetry" by John Hollander
A detailed exploration of poetic forms, techniques, and the art of writing poetry. "The War of Art: Break Through the Blocks and Win Your Inner Creative Battles" by Steven Pressfield
Focuses on overcoming creative blocks and fostering a productive writing practice.
Online Resources
The Poetry Foundation (www.poetryfoundation.org)
A wealth of poems, poet biographies, and articles on poetry, providing inspiration and education for poetry writers. NaNoWriMo (www.nanowrimo.org)
National Novel Writing Month encourages writers to produce a novel in a month, offering community support and resources. Writers' Workshop (www.writersworkshop.co.uk)
Offers articles, writing prompts, and resources for aspiring writers across genres. Writing Commons (www.writingcommons.org)
A free, online resource for writers, providing guidance on various aspects of writing, including style, structure, and genre-specific tips. Coursera and edX
These platforms offer various online courses in creative writing from renowned universities, allowing students to deepen their understanding of specific topics. YouTube Channels
Channels like “The Write Channel” and “Just Write” offer tips, tutorials, and discussions on writing craft and theory.
Journals and Magazines
Poets & Writers Magazine
Offers articles, interviews, and resources for writers, including information about publishing and contests. The Writer Magazine
Provides writing advice, interviews with authors, and industry news. Tin House, The New Yorker, and Ploughshares
Literary magazines that publish high-quality fiction, essays, and poetry, providing excellent examples for students.
"The Elements of Style" by William Strunk Jr. and E.B. White
A classic guide to writing clear and concise prose, focusing on essential grammar and style principles. "Bird by Bird: Some Instructions on Writing and Life" by Anne Lamott
Offers practical advice on writing and the creative process, interspersed with humorous anecdotes. "Writing Down the Bones: Freeing the Writer Within" by Natalie Goldberg
A blend of writing exercises and philosophical insights that encourage writers to tap into their creativity. "The Writer's Journey: Mythic Structure for Writers" by Christopher Vogler
Explores the hero's journey and narrative structure, providing insights into storytelling techniques. "On Writing: A Memoir of the Craft" by Stephen King
Part memoir, part master class, this book offers practical advice and insights into the writing process from a prolific author. "The Art of Creative Writing" by L. Rust Hills
A comprehensive guide that covers various genres and provides exercises to inspire creative thinking. "The Poetry Home Repair Manual: Practical Advice for Beginning Poets" by Ted Kooser
Offers practical advice and insights specifically for poetry, making it accessible for beginners. "The Creative Writing Coursebook" edited by Julia Bell and Paul Magrs
A collection of exercises, advice, and insights from various authors that covers a wide range of creative writing topics. "The Craft of Poetry" by John Hollander
A detailed exploration of poetic forms, techniques, and the art of writing poetry. "The War of Art: Break Through the Blocks and Win Your Inner Creative Battles" by Steven Pressfield
Focuses on overcoming creative blocks and fostering a productive writing practice.
Online Resources
The Poetry Foundation (www.poetryfoundation.org)
A wealth of poems, poet biographies, and articles on poetry, providing inspiration and education for poetry writers. NaNoWriMo (www.nanowrimo.org)
National Novel Writing Month encourages writers to produce a novel in a month, offering community support and resources. Writers' Workshop (www.writersworkshop.co.uk)
Offers articles, writing prompts, and resources for aspiring writers across genres. Writing Commons (www.writingcommons.org)
A free, online resource for writers, providing guidance on various aspects of writing, including style, structure, and genre-specific tips. Coursera and edX
These platforms offer various online courses in creative writing from renowned universities, allowing students to deepen their understanding of specific topics. YouTube Channels
Channels like “The Write Channel” and “Just Write” offer tips, tutorials, and discussions on writing craft and theory.
Journals and Magazines
Poets & Writers Magazine
Offers articles, interviews, and resources for writers, including information about publishing and contests. The Writer Magazine
Provides writing advice, interviews with authors, and industry news. Tin House, The New Yorker, and Ploughshares
Literary magazines that publish high-quality fiction, essays, and poetry, providing excellent examples for students.
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
1.3 ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา แก้ไข
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ แก้ไข