การแพร่กระจายคลื่นวิทยุ
Radio Wave Propagation
1.ศึกษาเกี่ยวกับการจัดสรรความถี่วิทยุ สมการคลื่น คลื่นระนาบ
2. เข้าใจคุณสมบัติของตัวกลาง ระบบวิทยุ การแพร่กระจายคลื่น การหักเหของคลื่น การสะท้อนของคลื่น การแพร่กระจายคลื่นฟ้า
3.เข้าใจการแพร่กระจายคลื่นในชั้นบรรยากาศโทรโพสเฟียร์ การกระเจิงของคลื่นโทรโพสเฟียร์
4.รู้ระบบทวนสัญญาณคลื่นวิทยุไมโครเวฟ การสื่อสาร ผ่านดาวเทียมและการสื่อสารใน ห้วงอวกาศ เรดาร์ การแพร่กระจายคลื่นในน้ำทะเล การหักเหคลื่นในสภาพบรรยากาศไม่คงที่ แก้ไข
2. เข้าใจคุณสมบัติของตัวกลาง ระบบวิทยุ การแพร่กระจายคลื่น การหักเหของคลื่น การสะท้อนของคลื่น การแพร่กระจายคลื่นฟ้า
3.เข้าใจการแพร่กระจายคลื่นในชั้นบรรยากาศโทรโพสเฟียร์ การกระเจิงของคลื่นโทรโพสเฟียร์
4.รู้ระบบทวนสัญญาณคลื่นวิทยุไมโครเวฟ การสื่อสาร ผ่านดาวเทียมและการสื่อสารใน ห้วงอวกาศ เรดาร์ การแพร่กระจายคลื่นในน้ำทะเล การหักเหคลื่นในสภาพบรรยากาศไม่คงที่ แก้ไข
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐานและมีความเข้าใจคุณสมบัติของการแพร่กระจายคลื่นในอากาศ น้ำ ดิน สำหรับนำไปวิเคราะห์ สร้าง และปรับปรุงอุปกรณ์ในระบบสื่อสาร ตลอดจนคินค้นหาแนวทางใหม่ ๆ ในการเพิ่มประสิทธิภาพของการแพร่กระจายคลื่น นอกจากนี้นักศึกษาสามารถใช้โปรแกรมประยุกต์เป็นเพื่อทำให้การพัฒนาอุปกรณ์ระบบรับส่งสัญญาณให้มีคุณภาพสูง อีกทั้งเป็นสื่อการเรียนที่ทำให้นักศึกษามีความเข้าใจชัดเจนยิ่งขึ้น เป็นการเตรียมความพร้อมในการนำความรู้ไปสร้างงานวิจัย ช่วยเหลือสังคมต่อไป
ศึกษาฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการจัดสรรความถี่วิทยุ สมการคลื่น คลื่นระนาบ คุณสมบัติของตัวกลาง ระบบวิทยุ การแพร่กระจายคลื่น การหักเหของคลื่น การสะท้อนของคลื่น การแพร่กระจายคลื่นฟ้า การแพร่กระจายคลื่นในชั้นบรรยากาศโทรโพสเฟียร์ การกระเจิงของคลื่นโทรโพสเฟียร์ ระบบทวนสัญญาณคลื่นวิทยุไมโครเวฟ การสื่อสาร ผ่านดาวเทียมและการสื่อสารใน ห้วงอวกาศ เรดาร์ การแพร่กระจายคลื่นในน้ำทะเล การหักเหคลื่นในสภาพบรรยากาศไม่คงที่
2 ชั่วโมง
1.1 คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา พัฒนานักศึกษาให้มีคุณธรรม จริยธรรมไปพร้อม ๆ กับวิทยาการต่าง ๆ ที่ศึกษา เพื่อให้สามารถดำเนินชีวิตร่วมกับผู้อื่นในสังคมอย่างราบรื่น และเป็นประโยชน์ต่อส่วนรวม สามารถพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม รวมทั้งอาจารย์ต้องมีคุณสมบัติด้านคุณธรรม จริยธรรมอย่างน้อยดังนี้ 1.1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม 1.1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ 1.1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม 1.1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1.2 วิธีการสอน
1.2.1 สอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม 1.2.2 สอดแทรกความซื่อสัตย์ต่อตนเอง และสังคม 1.2.3 เน้นความรับผิดชอบทั้งต่อตนเอง และสังคม ทั้งในบทบาทของการเป็นผู้นำกลุ่มและการเป็นสมาชิกกลุ่ม 1.2.4 ให้ความสำคัญในวินัย การตรงต่อเวลา การส่งงานภายในเวลาที่กำหนด 1.2.5 เน้นเรื่องการแต่งกายและปฏิบัติตนที่เหมาะสม ถูกต้อง ตามระเบียบข้อบังคับของมหาวิทยาลัย 1.2.6 ปฏิบัติตามกฎระเบียบ และข้อบังคับขององค์กรและสังคม 1.2.7 ปลูกฝังจรรยาบรรณวิชาชีพ
1.2.1 สอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม 1.2.2 สอดแทรกความซื่อสัตย์ต่อตนเอง และสังคม 1.2.3 เน้นความรับผิดชอบทั้งต่อตนเอง และสังคม ทั้งในบทบาทของการเป็นผู้นำกลุ่มและการเป็นสมาชิกกลุ่ม 1.2.4 ให้ความสำคัญในวินัย การตรงต่อเวลา การส่งงานภายในเวลาที่กำหนด 1.2.5 เน้นเรื่องการแต่งกายและปฏิบัติตนที่เหมาะสม ถูกต้อง ตามระเบียบข้อบังคับของมหาวิทยาลัย 1.2.6 ปฏิบัติตามกฎระเบียบ และข้อบังคับขององค์กรและสังคม 1.2.7 ปลูกฝังจรรยาบรรณวิชาชีพ
1.3 วิธีการประเมินผล
1.3.1 ประเมินจากการตรงเวลาของนักศึกษาในภาพเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมายและการร่วมกิจกรรม 1.3.2 ปริมาณการกระทำทุจริตในการสอบ 1.3.3 ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย 1.3.4 ประเมินจากคุณภาพของงานที่ได้รับมอบหมาย ที่สะท้อนถึงความตั้งใจ ความรับผิดชอบของนักศึกษา 1.3.5 มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
1.3.1 ประเมินจากการตรงเวลาของนักศึกษาในภาพเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมายและการร่วมกิจกรรม 1.3.2 ปริมาณการกระทำทุจริตในการสอบ 1.3.3 ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย 1.3.4 ประเมินจากคุณภาพของงานที่ได้รับมอบหมาย ที่สะท้อนถึงความตั้งใจ ความรับผิดชอบของนักศึกษา 1.3.5 มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
2.1 ความรู้ที่ต้องได้รับ
มีความรู้และเข้าใจเกี่ยวคุณสมบัติของคลื่น การแพร่กระจายคลื่น ผ่านอากาศ ผ่านน้ำ ผ่านดิน พร้อมทั้งรู้และเข้าใจการประยุกต์
2.2 วิธีการสอน
บรรยาย อภิปราย การทำรายงานและการนำเสนอรายงาน และมอบหมายให้ค้นหาบทความ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง สร้างชิ้นงาน และเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
2.3 วิธีการประเมินผล
2.3.1 ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดความเข้าใจหลักการ การคำนวณเพื่อการวิเคราะห์ 2.3.2 ประเมินจากการรายงานและการนำเสนอรายงาน ความสำเร็จของการสร้างชิ้นงาน
2.3.1 ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดความเข้าใจหลักการ การคำนวณเพื่อการวิเคราะห์ 2.3.2 ประเมินจากการรายงานและการนำเสนอรายงาน ความสำเร็จของการสร้างชิ้นงาน
3.1 ทักษะทางปัญญา ที่ต้องพัฒนา
พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ สามารถคิด วิเคราะห์ และบูรณาการองค์ความรู้ได้เป็นอย่างดี
3.2 วิธีการสอน
3.2.1 การมอบหมายการบ้าน ที่ส่งเสริมการคิด วิเคราะห์ 3.2.2 การมอบหมายงานให้ศึกษา ค้นคว้า ทำรายงาน และสร้างชิ้นงาน 3.2.3 การสะท้อนแนวคิด วิเคราะห์ วิจารณ์จากงานที่ได้ทำ
3.2.1 การมอบหมายการบ้าน ที่ส่งเสริมการคิด วิเคราะห์ 3.2.2 การมอบหมายงานให้ศึกษา ค้นคว้า ทำรายงาน และสร้างชิ้นงาน 3.2.3 การสะท้อนแนวคิด วิเคราะห์ วิจารณ์จากงานที่ได้ทำ
3.3 วิธีการประเมินผล
3.3.1 สอบย่อย สอบกลางภาคและสอบปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่มีการเข้าใจหลักการ และการคำนวณเพื่อการวิเคราะห์ บรูณาการองค์ความรู้ในเนื้อหาของรายวิชาวิศวกรรมไมโครเวฟ 3.3.2 ประเมินผลจากการทำงาน/การบ้าน 3.3.3 วัดผลจากการทำรายงาน การนำเสนอผลงาน ชิ้นงานที่ทำ 3.3.4 สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
3.3.1 สอบย่อย สอบกลางภาคและสอบปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่มีการเข้าใจหลักการ และการคำนวณเพื่อการวิเคราะห์ บรูณาการองค์ความรู้ในเนื้อหาของรายวิชาวิศวกรรมไมโครเวฟ 3.3.2 ประเมินผลจากการทำงาน/การบ้าน 3.3.3 วัดผลจากการทำรายงาน การนำเสนอผลงาน ชิ้นงานที่ทำ 3.3.4 สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ที่ต้องพัฒนา
4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ที่ต้องพัฒนา 4.1.1 พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน 4.1.2 พัฒนาการให้ความร่วมมือในการทำงานทั้งความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม 4.1.3 พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ที่ต้องพัฒนา 4.1.1 พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน 4.1.2 พัฒนาการให้ความร่วมมือในการทำงานทั้งความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม 4.1.3 พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
4.2 วิธีการสอน
4.2.1 มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล เช่น การค้นคว้าเนื้อหาวิชาวิศวกรรมไมโครเวฟ อ่านบทความที่เกี่ยวข้องกับรายวิชา เพื่อทำให้เกิดแนวคิด ในการสร้างชิ้นงาน 4.2.2 การนำเสนอรายงาน สรุปวิจารณ์ ผลที่ได้
4.2.1 มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล เช่น การค้นคว้าเนื้อหาวิชาวิศวกรรมไมโครเวฟ อ่านบทความที่เกี่ยวข้องกับรายวิชา เพื่อทำให้เกิดแนวคิด ในการสร้างชิ้นงาน 4.2.2 การนำเสนอรายงาน สรุปวิจารณ์ ผลที่ได้
4.3 วิธีการประเมินผล
4.3.1 ผลจากการประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด 4.3.2 ผลจากการประเมินจากรายงานที่นำเสนอ พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม 4.3.3 ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง
4.3.1 ผลจากการประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด 4.3.2 ผลจากการประเมินจากรายงานที่นำเสนอ พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม 4.3.3 ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล | ไม่มีข้อมูล |
---|
1. David M. Pozar, MICROWAVE ENGINEERING, 2th Edition, 1998 2. Reinhold Ludwig and Pavel Bretchko, RF Circuit Design Theory and Application, 1th Edition,2000 3. Donald A.Neamen, MICROELECTRONICS: CIRCUIT ANALYSIS AND DESIGN, 3rd Edition, 2007 5. EDGAR HUND, MICROWAVE COMMUNICATION COMPONENTS AND CIRCUIT, 1989 6. John D.Kraus Ronald J. Marhefka , Antennas For All Application, 3th Edition, 2002 7. Chris Bowick, RF CIRCUIT DESIGN,1th,1982 8. TERRY EDWARDS, Foundations for Microstrip Circuit Design, Secound Edition, 1992
เอกสารประกอบการสอน
เวปไซด์ที่เกี่ยวข้องกับการแพร่กระจายคลื่น และแอปพลิเคชั่น AI
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้ 2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้สอน 2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา 2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้ 3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน 3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้ 4.1 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม 4.2 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้ 5.1 ปรับปรุงเทคนิควิธีการสอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้ด้วยวิธีการต่าง ๆ 5.2 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4