การวิเคราะห์วงจรไฟฟ้า
Electric Circuits Analysis
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับพื้นฐาน การวิเคราะห์วงจรไฟฟ้ากระแสตรง และกระแสสลับ เพื่อนำไปใช้ประโยชน์ในการแก้ปัญหาโจทย์
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐาน เป็นการเตรียมความพร้อมในการนำความรู้ ความเข้าใจ ในการวิเคราะห์วงจรไฟฟ้า เพื่อเป็นพื้นฐานการเรียนในวิชาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ ควรมีการเปลี่ยนแปลงตัวอย่างอ้างอิง ให้สอดคล้องกับปัญหาโจทย์ที่มีความซับซ้อนมากยิ่งขึ้
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับผลตอบสนองต่อสัญญาณคอนโวลูชั่น การวิเคราะห์วงจรข่ายสองพอร์ต ความถี่เชิงซ้อน ความสัมพันธ์ของผลตอบสนองเชิงเวลากับความถี่เชิงซ้อน คุณลักษระและโทโพโลยี่ของโครงข่าย การวิเคราะห์วงจรโครงข่ายแบบโนด ลูปและคัตเซท สมการสภาวะของวงจรข่าย ผลการแปลงลาปลาซ และการประยุกต์เพื่อวิเคราะห์วงจรข่ายตามทฤษีวงจรไฟฟ้า
อาจารย์ประจำวิชา ประกาศเวลาให้คำปรึกษาผ่านเว็บไซต์คณะ
- อาจารย์ประจำวิชาจัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
- อาจารย์ประจำวิชาจัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
4.1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม 4.1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ 4.1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและมีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม 4.1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
4.1.1 สอดแทรกความซื่อสัตย์ต่อตนเอง และสังคม 4.1.2 สอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม 4.1.3 ให้ความสำคัญในวินัย การตรงต่อเวลา การส่งงานภายในเวลาที่กำหนด 4.1.4 ปฏิบัติตามกฎระเบียบ และข้อบังคับขององค์กรและสังคม
4.1.4 สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ อย่างต่อเนื่อง 4.1.2 ประเมินผลจากพฤติกรรมของนักศึกษาในการปฏิบัติตามกฎ ระเบียบและข้อบังคับต่างๆ อย่างต่อเนื่อง 4.1.3 การขานชื่อ การให้คะแนนการเข้าชั้นเรียนและการส่งงานตรงเวลา 4.1.4 พิจารณาปริมาณการทุจริตในการสอบ
4.2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาสาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า 4.2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีใหม่ๆของสาขาวิศวกรรมไฟฟ้า 4.2.3 สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้ากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
- ใช้วิธีการสอนแบบ Online โดยใช้โปรแกรม Microsoft Team - นำประสบการณ์ในงานอุตสาหกรรมมาถ่ายทอดในชั้นเรียน 4.2.2 จัดกิจกรรมทางวิชาการและเทคโนโลยีในรู้แบบการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ 4.2.3 ทดสอบการเรียนรู้ด้วยตนเอง
4.4.1 ประเมินผลจากแบบประเมินตนเองและแบบฝึกหัดและ/หรือการบ้าน -ติดตามการทำงานร่วมกับสมาชิกกลุ่มของนักศึกษาเป็นระยะพร้อมบันทึกพฤติกรรมเป็นรายบุคคล 4.4.2 พิจารณาจากการรายงานหน้าชั้นเรียนโดยอาจารย์และนักศึกษา 4.4.3 สังเกตพฤติกรรมการระดมสมองและบันทึกใบงานทดลองกิจกรรมกลุ่ม 4.4.4 สังเกตพฤติกรรมการระดมสมอง
4.5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารได้อย่างเหมาะสม 4.5.2 สามารถสืบค้นศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม 4.5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ แก้ไข
4.5.1 ส่งเสริมให้มีการตัดสินใจบนฐานข้อมูลและข้อมูลเชิงตัวเลข 4.5.2 ใช้ศักยภาพทางคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนอผลงานที่ได้รับมอบหมาย 4.5.3 มอบหมายงานค้นคว้าองค์ความรู้จากแหล่งข้อมูลต่างๆ และให้นักศึกษานำเสนอหน้าชั้น
4.5.1 ส่งเสริมให้มีการตัดสินใจบนฐานข้อมูลและข้อมูลเชิงตัวเลข 4.5.2 ใช้ศักยภาพทางคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนอผลงานที่ได้รับมอบหมาย 4.5.3 มอบหมายงานค้นคว้าองค์ความรู้จากแหล่งข้อมูลต่างๆ และให้นักศึกษานำเสนอหน้าชั้น
4.5.1 ส่งเสริมให้มีการตัดสินใจบนฐานข้อมูลและข้อมูลเชิงตัวเลข 4.5.2 ใช้ศักยภาพทางคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนอผลงานที่ได้รับมอบหมาย 4.5.3 มอบหมายงานค้นคว้าองค์ความรู้จากแหล่งข้อมูลต่างๆ และให้นักศึกษานำเสนอหน้าชั้น
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล | ไม่มีข้อมูล |
---|