การจำลองธุรกิจและการเริ่มธุรกิจใหม่

Business Simulation and Stratup Business

 เพื่อศึกษาความรู้เบื้องต้นทางธุรกิจในรูปแบบของการทําธุรกิจสตาร์ทอัพ และการเป็นผู้ประกอบการ ด้วยการฝากปฏิบัติจริงในสถานการณ์จําลอง  เพื่อศึกษาการสร้างทีมงานและการทํางานร่วมกันในการวางแผนรูปแบบธุรกิจใหม่ โดยนํารายวิชาที่ได้ศึกษามาประยุกต์ใช้ในการดําเนินธุรกิจ ขั้นตอนการเข้าสู่ธุรกิจ เทคนิควิธีการพัฒนา นวัตกรรมด้วยการวิเคราะห์เพื่อแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์การพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ การขยายธุรกิจ และการสร้างความยั่งยืนให้กับธุรกิจ โดยได้รับคําแนะนําจาก อาจารย์ที่ปรึกษา
1) เพื่อศึกษาความรู้เบื้องต้นทางธุรกิจในรูปแบบของการทําธุรกิจสตาร์ทอัพ และการเป็นผู้ประกอบการ ด้วยการฝากปฏิบัติจริงในสถานการณ์จําลอง                                                                                                     2) เพื่อศึกษาการสร้างทีมงานและการทํางานร่วมกันในการวางแผนรูปแบบธุรกิจใหม่ โดยนํารายวิชาที่ได้ศึกษามาประยุกต์ใช้ในการดําเนินธุรกิจ ขั้นตอนการเข้าสู่ธุรกิจ เทคนิควิธีการพัฒนา นวัตกรรมด้วยการวิเคราะห์เพื่อแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์การพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ การขยายธุรกิจ และการสร้างความยั่งยืนให้กับธุรกิจ โดยได้รับคําแนะนําจาก อาจารย์ที่ปรึกษา
ความรู้เบื้องต้นทางธุรกิจ รูปแบบของการทําธุรกิจสตาร์ทอัพ และการเป็น ผู้ประกอบการ ด้วยการฝากปฏิบัติจริงในสถานการณ์จําลอง การสร้างทีมงานและการ ทํางานร่วมกันในการวางแผนรูปแบบธุรกิจใหม่ โดยนํารายวิชาที่ได้ศึกษามา ประยุกต์ใช้ในการดําเนินธุรกิจ ขั้นตอนการเข้าสู่ธุรกิจ เทคนิควิธีการพัฒนา นวัตกรรมด้วยการวิเคราะห์เพื่อแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์การพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ การขยายธุรกิจ และการสร้างความยั่งยืนให้กับธุรกิจ โดยได้รับคําแนะนําจาก อาจารย์ที่ปรึกษา
3
1.1.1   มีความรู้ความเข้าใจในหลักจริยธรรม คุณธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพทางธุรกิจมีจิตสำนึกสาธารณะตระหนักในคุณค่าของคุณธรรมจริยธรรมเสียสละ ไม่เอารัดเอาเปรียบซื่อสัตย์สุจริตทั้งต่อตนเองและผู้อื่น 1.1.2   มีความพอเพียงมีวินัย ขยัน อดทน เพียรพยายาม ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพ สังคมส่วนรวม และสิ่งแวดล้อม มีความสำนึกรับผิดชอบต่อส่วนรวม และสิ่งแวดล้อม  
  1.2.1 บรรยายพร้อมสอดแทรกเรื่องคุณธรรมจริยธรรมตามมาตรฐานผลการเรียนรู้
1.3.1 ประเมินผลจากพฤติกรรมในชั้นเรียน การเข้าเรียน และการส่งงานที่ได้รับมอบหมายตรงเวลา
2.1.1  มีความรู้และความเข้าใจในสาระสำคัญของศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง ประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะ ในการวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจและอธิบายความต้องการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาที่ศึกษา รวมทั้งประยุกต์ความรู้ ทักษะ และสามารถเลือกใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ปัญหาและการดำรงชีวิตประจำวัน 2.1.2   มีความรู้และความเข้าใจในสาระสำคัญเกี่ยวกับกระบวนการบริหารธุรกิจ ในด้านการวางแผน การจัดโครงสร้างองค์การ การปฏิบัติการ การควบคุมและการผลการดำเนินงาน รวมทั้งการปรับปรุงแผนงานให้สอดคล้องกับสถานการณ์  
 2.2.1 จัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญภายใต้ Project Base Learning
2.3.1 ประเมินจากสอบกลางภาค สอบปลายภาค   2.3.2 ประเมินจากงานโครงการที่นักศึกษาทำโดยการทำธุรกิจจำลอง
3.1  สามารถสืบค้น ตีความ วิเคราะห์ข้อมูล และประเมินสารสนเทศ จากหลายแหล่ง เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ตามสถานการณ์แวดล้อมทางธุรกิจ และการตัดสินใจอย่างเหมาะสมด้วยตนเอง 3.2  สามารถคิดค้นทางเลือก วิเคราะห์ทางเลือกและผลกระทบ จากทางเลือกอย่างรอบด้าน มีความสามารถในการตัดสินใจเลือกทางเลือกที่สอดคล้องกับสถานการณ์ ทำให้เกิดการได้เปรียบทางการแข่งหันทางธุรกิจ 
3.2.1 มอบหมายงานให้นักศึกษาทำโครงการธุกิจจำลอง โดยมีการเขียนแผนธุรกิจก่อนการลงมือปฏิบัติ 3.2.2 ทำธุรกิจจำลองและทำการปรับกลยุทธ์ในการทำธุรกิจตามสถานการณ์จริง
3.3.1 ประเมินจากแผนธุรกิจและผลการดำเนินการโครงการธุรกิจจำลอง
4.1  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมอย่างมีความรับผิดชอบ ยอมรับฟัง และเคารพความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม และสามารถปรับตัวเชิงวิชาชีพได้ 4.2  มีความสามารถในการแสดงความคิดริเริ่ม แสดงความคิดเห็นต่าง และแสดงความคิดเห็นใหม่ ๆ ได้อย่างสร้างสรรค์ เอื้อต่อการแก้ไขปัญหาของทีมสามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม  
4.2.1 มอบหมายให้มีการทำงานเป็นทีมในการทำธุรกิจจำลอง
4.3.1 ประเมินจากการปฏิบัติ และรายงานที่นำเสนอ  4.3.2 สังเกตพฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
5.1.1  สามารถประยุกต์ใช้หลักคณิตศาสตร์ สถิติ การวิเคราะห์เชิงปริมาณ มาใช้ในการวิเคราะห์และตัดสินใจทางธุรกิจ และชีวิตประจำวัน   5.1.2  สามารถสื่อสารเพื่ออธิบาย และสร้างความเข้าใจ โดยใช้รูปแบบของสื่อเทคนิควิธีการ เครื่องมือสื่อสารและเทคโนโลยีได้อย่างถูกต้อง ทั้งในรูปแบบการเขียนรายงานและการนำเสนอด้วยวาจาที่เหมาะสมอย่างมีประสิทธิภาพและสร้างสรรค์                                                                
5.2.1 มอบหมายงานโดยกำหนดให้ทำแผนธุรกิจที่มากจากการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือประกอบการเขียนแผนทำเป็นรูปเล่มส่ง 5.2.2 มอบหมายงาน และให้ทำการนำเสนอหน้าชั้นเรียนโดยให้นำเสนอผ่าน powerpoint และทำรูปเล่มรายงานส่ง   
5.3.1 ประเมินจากแผนธุรกิจ และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
6.1.1 สามารถปฏิบัติงานโดยใช้องค์ความรู้และประสบการณ์ในศาสตร์ที่ศึกษามาใช้เป็นแนวทางในการดำเนินงานเพื่อสนับสนุนการดำเนินงานของธุรกิจ นำมาใช้แก้ไขปัญหา ค้นคว้าวิจัย ตลอดจนพัฒนาตนเอง ชุมชน และสังคมได้อย่างถูกต้อง   6.1.2  สามารถปฏิบัติงานโดยใช้ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์อย่างเป็นระบบ แก้ปัญหาเชิงบูรณาการได้ด้วยการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ ตีความ อย่างมีเหตุผล
6.2.1 มอบหมายงานให้นักศึกษาทำโครงการธุรกิจจำลองและทำการปรับกลยุทธ์ในการทำธุรกิจตามสถานการณ์จริง
6.3.1 ประเมินจากการปฏิบัติโครงการธุรกิจจำลอง และแผนธุรกิจที่ปรับเปลี่ยนไปตามสถานการณ์จริง
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.2, 2.3, 4.1, 4.2, 5.1, 5.2, 5.6 เล่มแผนธุรกิจและการนำเสนอ 2-3 10%
2 1.1, 1.2, 2.2, 2.3, 3.1, 3.2, 4.1, 4.2, - การปฏิบัติธุรกิจจำลอง - เล่มรายงานผลการดำเนินงาน - การนำเสนอ 4-17 50%, 30%, 5%
3 1.2 คุณธรรมจริยธรรมในการฝึกปฏิบัติ 2-17 5%
 คู่มือการบริหารและแบบปฏิบัติการวางแผนโครงการจำลอง
1. การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน 2. แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา 3. ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
1. การสังเกตพฤติกรรมของผู้เรียนในการทำงานกลุ่ม ทำกิจกรรมต่างๆ ทั้งในและนอกชั้นเรียน 2. ผลการดำเนินงาน วิธีการวิเคราะห์และการแก้ไขปัญหาต่างๆ ในกิจกรรมทั้งในและนอกชั้นเรียน
1. การวิจัยในชั้นเรียน 2. ผลจากการวิจัยในชั้นมาปรับปรุงผสมผสานกับความคิดเห็นของผู้เรียน
1. การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์ท่านอื่น 2. การตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
1. ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ ตามข้อ 4 2. เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการตลาดให้มีความ หลากหลายมากขึ้น